การผลิตจุลินทรีย์โพรไบโอติกสำหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ในระดับโรงงานต้นแบบ = production of probiotics for feeding chicken indusry in pilot plant scale / Bundit Fungsin...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Fungsin, Bundit | Kanhanont, Thepparit | Kerdprathum, Saman | Phapugrankul, Pongsathon | Sirisattha, Sophorn | Thaweethepthaikul, Pannathon | Wannissorn, Bhusita | สมาน เกิดประทุม | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | ปัณณธร ทวีเทพไทกุล | ประภักรางกูร, พงศธร | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ภูษิตา วรรณิสร | โสภณ สิริศรัทธา | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 48-03 ; Final report (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 65 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตจุลินทรีย์โพรไบโอติกสำหรับอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ในระดับโรงงานต้นแบบหัวเรื่อง: Chickens | Poultry industry | Probioticsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: The study on using the cheaper price raw materials as substrate in medium for production of probiotic in large scale, molasses, cane sugar, sweetened milk cream and whey show in high potency to use as substrates in formulation for probiotic production medium. They showed a closely similar result in bacterial growth in the range of 2-5x109 cfu/ml when comparing to the commercial medium, MRS which was in the same level of bacterial growth at 109 cfu/ml. The high potential production medium of the two production medium formulas were selected that containing of 2% molasses, 1% sweetened milk cream, 0.25% peptone and trace elements and the another containing 2% cane sugar, 1% sweetened milk cream, 0.25% peptone and trace elements. Moreover, whey can be used as nitrogen source to replace of sweetened milk cream in amount of 2% (w/v). Peptone has played an important role to stimulate the bacterial growth that reach to the maximum yield within 24 hr. Meanwhile, rice bran, milled and soybean also showed the high potency to use replacing of peptone at amount of 4% and 2% (w/v), respectively. The condition for production of probiotic in 300L and 1,500L fermenter, it shows no difference in bacterial growth between supplying of gas mixture (nitrogen: carbon dioxide, 4:1) flow rate 1 L/min. and without air supply during cultivation in 300 L. Slowly agitation of 50 rpm shows a better result in bacterial growth when compare to the static condition which caused of prolong in lag phase. Acidic and basic condition for production of probiotic, the controlling pH at 6 shows the best result in bacterial growth comparing to controlling pH at 5 and non-control pH, however it is not significantly different in cell growth of the 3 conditions which are 2.41x109, 2.11x109 and 1.12x109 cfu/ml, respectively. Therefore, the selected production condition of probiotic in the fermenter is non-air supply (closed system), 50 rpm agitation, cultivation temperature 37oC and cultivation time 24 hrs. The development of probiotic products in two forms, liquid and solid form, the research was conducted in aiming to maintain the bacterial survival in the products. In the liquid form, the addition of lactose sugar show no effect to the maintaining the bacterial survival in the product. The addition of 5% (w/v) sweetened milk cream in liquid form show a good result in maintaining of bacterial survival, by after 2 months of initial bacterial number 7.6x108cfu/ml, the bacterial survival is 2.6x107 cfu/ml meanwhile in the sole MRS broth is 9.0x105 cfu/ml. The combination of addition 5% (w/v) sweetened milk cream and adjusting pH to 6 in the liquid form show the excellent result by after 2 months the bacterial survival still in the same level of cell number in 108 cfu/ml of initial bacterial number. Meanwhile, the solid form of probiotic by freeze drying process, using sweetened milk cream show good result to use as cryoprotective agent to protect cell as same as the skim milk. After 2 months of the initial bacterial cell 2.7x1010 cfu/gram the bacterial survival by using sweetened milk cream and skim milk are 1.29x109 and 7.65X108 cfu/gram, respectively. The field trial of probiotic was conducted at experimental chicken farm of Saha farm company in Lopburi province. The experiments were divided into 4 groups, 1) Control, 2) Drug, 3) Probiotic and 4) Drug and probiotic. Probiotic group gained the highest average body weight of 2,939 gram which higher than drug group, control group and drug and probiotic in 40, 96 and 124 gram, respectively, however, there is no statistically significant difference among group 3, 1 and 2 but show statistically significant difference between group 3 and 4. Feed conversion rate (FCR) revealed that probiotic group is the best value of 1.92 which better than that of drug group, control group and drug & probiotic group by 0.01, 0.03 and 0.09, respectively.สาระสังเขป: การทดลองผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกในฟาร์มเลี้ยงไก่ 4 กลุ่มการทดลอง พบว่าน้ำหนักเฉลี่ยต่อตัวกลุ่มโพรไบโอติกมีน้ำหนักสูงที่สุด 2,939 กรัม มากกว่า กลุ่มให้ยาและโพรไบโอติกร่วมกันเท่ากับ 40, 96 และ 124 กรัม ตามลำดับ โดยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P > 0.05) ระหว่าง 3 กลุ่มของโพรไบโอติก กลุ่มให้ยาและกลุ่มควบคุม อัตราการแลกเนื้อ (Feed conversion rate, FCR) กลุ่มโพรไบโอติก ให้ผลดีที่สุดเท่ากับ 1.92 ซึ่งดีกว่ากลุ่มควบคุมให้ยากลุ่มควบคุม และกลุ่มโพรไบโอติกให้ยา เท่ากับ 0.01, 0.03 และ 0.09 ตามลำดับ. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: การพัฒนาผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกในสองรูปแบบ คือ ของเหลวและของแข็ง ผลิตภัณฑ์รูปแบบของเหลว พบว่าการใส่นมผงปริมาณ 0.5% (นน./ปริมาตร) ช่วยรักษาการอยู่รอดของจุลินทรีย์โดยที่จุลินทรีย์เริ่มต้น 7.6 x 10(8) เซลล์/มล. เมื่อเวลาผ่านไป 2 เดือน มีปริมาณอยู่รอด 2.60 x 10(7) เซลล์/มล. ในขณะชุดควบคุมมีปริมาณการอยู่รอด 9.0 x 10(5) เซลล์/มล. การใช้การปรับสภาวะความเป็นกรดเบสค่าพีเอชที่ 6 ร่วมกับการใส่นมผง เมื่อเวลาผ่านไป 2 เดือน ให้ผลที่ดีโดยมีปริมาณการอยู่รอดสูงในระดับ 10(8) เซลล์/มล. เช่นเดียวกับเริ่มต้น ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกในรูปแบบของแข็งพบว่านมผงมีศักยภาพที่จะนำมาใช้เป็นสารรักษาเซลล์จุลินทรีย์ในการทำแห้งเยือกแข็งได้เช่นเดียวกับการใช้ skim milk.สาระสังเขป: การศึกษาวัตถุดิบราคาถูกเพื่อทดลองใช้เป็นอาหารผลิตจุลินทรีย์โพรไบโอติก พบว่า กากน้ำตาล น้ำตาลทราย นมผง หางนม มีศักยภาพสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์โพรไบโอติก ซึ่งให้ผลใกล้เคียงกับอาหารสำเร็จรูปเอ็มอาร์เอส (MRS medium) โดยให้ปริมาณจุลินทรีย์โพรไบโอติก 2-5x 10(9) เซลล์/มล. อยู่ในระดับเซลล์ระดับ 10(9) เซลล์/มล. เช่นกัน พบว่าอาหาร 2 สูตรที่มีศักยภาพใช้เลี้ยงจุลินทรีย์โพรไบโอติกในระดับขยายสูตรที่หนึ่งประกอบด้วย 2% กากน้ำตาล, 1% นมผง, 0.25% เป็บโตน (นน./ปริมาตร) และแร่ธาตุจำเป็น สูตรที่สอง 2% น้ำตาลทราย, 1% นมผง, 0.25% เป็บโตน (นน./ปริมาตร) และแร่ธาตุจำเป็น หางนมมีศักยภาพเพื่อนำมาเป็นแหล่งไนโตรเจนทดแทนนมผงได้โดยใช้ปริมาณ 2% (นน./ปริมาตร) และพบว่าเป็บโตนช่วยเร่งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์โพรไบโอติกให้เร็วขึ้น โดยมีปริมาณเซลล์สูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง ส่วนรำข้าวและถั่วเหลืองละเอียดมีศักยภาพที่จะนำไปใช้ทดแทนเป็บโตนได้เช่นกัน โดยใช้ในปริมาณ 4%, และ 2% (นน./ปริมาตร) ตามลำดับ.สาระสังเขป: สภาวะการผลิตจุลินทรีย์โพรไบโอติกในถังหมักขนาด 300 ลิตรและ 1,500 ลิตร พบว่าการให้ก๊าซผสมระหว่างไนโตรเจน : คาร์บอนไดออกไซด์ (4:1) ในอัตรา 1 ลิตร/นาที กับการไม่ได้ให้อากาศเลยให้ผลของการเจริญของจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่ไม่แตกต่างกัน การกวนอย่างช้าๆ ที่ความเร็ว 50 รอบ/นาที ให้ผลการเจริญที่ดีกว่าการตั้งทิ้งไว้โดยไม่กวนโดยช่วยลดเวลาช่วงแลกเฟส (lag phase) สภาวะความเป็นกรดเบสระหว่างสภาวะการเลี้ยงโดยไม่ควบคุมพีเอช กับการควบคุม pHที่ 5 และ 6 พบว่า การควบคุม pH6 ให้ผลการเจริญของจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่สูงที่สุด แต่ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก โดยได้ปริมาณเซลล์สูงสุดเป็น 1.12x10(9) , 2.11x10(9) , 241x10(9) เซลล์/มล. ตามลำดับ ดังนั้นสภาวะที่ใช้ผลิตเลี้ยงจุลินทรีย์โพรไบโอติกในถังหมักระดับขยายขนาดจะเลือกใช้สภาวะ ไม่ให้อากาศเป็นระบบปิด อัตราการกวน 50 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เวลาเลี้ยง 24 ชั่วโมง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300