การตรวจสอบคุณสมบัติตัวอย่างน้ำมันมะพร้าวเพื่อใช้บริโภค = Determination of the coconut-oil-sample properties for edible grade / Sunanta Ramanvongse, Supatra Munsakul (CONFIDENTIAL)

โดย: Ramanvongse, Sunanta
ผู้แต่งร่วม: Munsakul, Supatra | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 21-37ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 10 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การตรวจสอบคุณสมบัติตัวอย่างน้ำมันมะพร้าวเพื่อใช้บริโภคหัวเรื่อง: Coconut oil | Coconuts | น้ำมันมะพร้าวสาระสังเขป: It was requested by the oil factory named Sin Charern Oil Industry Company Limited at Samut Prakan, Thailand, to determine the coconut oil-sample properties for edible grade. The coconut oil sample was obtained by the solvent (the name of the solvent was not informed) extraction of the fresh coconut meat at that oil company. Some parts of the oil was neutralized (at ASRCT) with alkali and decolourized, it was called refined oil.สาระสังเขป: The oil-sample, the refined oil and the coconut oil, prepared at ASRCT laboratory, were subjected to the determination of chemical and physical properties and also the fatty acid components. It was found that the properties of the oil sample was similar to those of known coconut oil. It will certainly be better if the oil sample can be refined and the amount of the heavy metals such as iron, copper and lead could have been reduced for edible purpose. The refining process is the neutralization, decolourization and deodorization.สาระสังเขป: บริษัทอุตสาหกรรมน้ำมันพืชสินเจริญ จำกัด จ.สมุทรปราการ ได้มาขอรับบริการการวิเคราะห์ และตรวจสอบคุณสมบัติของน้ำมันมะพร้าวตัวอย่างซึ่งได้จากการสกัดมะพร้าวสด, โดยวิธีใช้ตัวทำละลาย (ทางบริษัทฯ มิได้บอกชื่อตัวทำละลายที่ใช้) ว่าสามารถจะบริโภคได้หรือไม่. การทดสอบ ได้น้ำมันมะพร้าวตัวอย่างบางส่วน ผ่านกรรมวิธีการทำให้เป็นกลางด้วยด่าง และการฟอกสี. น้ำมันที่ได้มาทดสอบคุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมี รวมทั้งหาองค์ประกอบของกรดไขมัน เปรียบเทียบกับน้ำมันมะพร้าวตัวอย่าง และน้ำมันมะพร้าวที่เตรียมขึ้นเองที่สถาบันวิจัยฯ. ได้พบว่า น้ำมันมะพร้าวตัวอย่างมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ำมันมะพร้าวทั่ว ๆ ไป, และถ้านำมาผ่านกรรมวิธีการรีไพน์ คือการทำให้เป็นกลางด้วยด่าง, การฟอกสี และการดูดกลิ่น และพยายามลดปริมาณของเหล็ก, ตะกั่ว และทองแดงลง จะใช้เป็นน้ำมันบริโภคได้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300