การวิจัยเทคโนโลยีการกำจัดสารมลพิษอินทรีย์และพลังงานทดแทนสำหรับฟาร์มปศุสัตว์ขนาดใหญ่ / สมชาย ดารารัตน์...[และคนอื่นๆ]

ผู้แต่งร่วม: Annop Chatamra | Kangnitha Krongthamchat | Nuttawoot Boonliam | Pattacharee Jaiaun | Samchai Dararat | Sopol Boonman | Thavesak Homdokmi | โสภณ บุญมั่น | กาญนิถา ครองธรรมชาติ | ณัฐวุฒิ บุญเลี่ยม | ทวีศักดิ์ หอมดอกไม้ | พัทจารี ใจอุ่น | สมชาย ดารารัตน์ | สาวิตรี ชัยวิเศษ | อรรณพ จาฏามระ | อังคณา เกตุแก้ว | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, หัวเรื่อง: ปศุสัตว์ | พลังงานทดแทน | มลพิษสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The performance of leach-bed anaerobic reactor under thermophilic condition was studied in order to determine its potential in producing energy and reducing environmental pollution. The project involved a series of laboratory studies on anaerobic digestion, rheological properties and modeling of hydrolysis/ acidogenesis in leach-bed anaerobic digestion of cattle manure. The results of rheological property studies showed that cattle manure displayed non-Newtonion flow property as its viscosity strangely relied on the applied shear rate. In addition, the temperature effect on the apparent viscosity of cow manure was properly described by an Arrhenius-type model.สาระสังเขป: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของถังปฏิกิริยาแบบ leach-bed anaerobic reactor ที่ทำงานในสภาวะ thermophilic ในการผลิตพลังงานทดแทนและการลดสารมลพิษสิ่งแวดล้อม. การทดลองนี้ประกอบด้วยชุดการทดลองหลายชุด คือ การทดลอง rheological properties ของมูลวัว, การศึกษาแบบจำลองกระบวนการ hydrolysis/acidogenesis และกระบวนการ methanogenesis. การศึกษาด้าน rheological properties ของมูลวัว พบว่า มูลวัวมีคุณสมบัติเป็นของเหลวแบบ non - Newtonion flow เนื่องจากค่าความหนืดของของเหลว ดังกล่าวขึ้นอยู่กับ shear rate. นอกจากนั้น ผลการทดลองยังแสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิมีผลต่อค่าความหนืดของมูลวัวและสามารถแสดงความสัมพันธ์ได้โดยใช้สมการ Arrhenius-type model. การศึกษาด้านจลนพลศาสตร์ พบว่า ค่า k และ ks ในกรณีใช้มูลวัว เป็นสารให้อิเล็กตรอนที่อุณหภูมิ 35 ± 2°ซ. และ 55 ± 2°ซ. มีค่าเฉลี่ย 0.41 กรัมแอซีเทต/กรัม ของ VSS- วัน, 0.32 กรัม แอซีเทต/ลิตร และ 0.45 กรัมแอซีเทต/กรัม VSS-วัน และ 0.18 กรัมแอซีเทต/ลิตร, ตามลำดับ. การศึกษาแบบจำลองกระบวนการ hydrolysis/acidogenesis ของกระบวนการบำบัด น้ำเสีย แบบไม่ใช้อากาศโดยเลือกใช้ refined mechanistic process model พบว่าข้อมูลจากการทดลองสามารถนำไปเข้ากับสมการ surface-limiting hydrolytic ได้. นอกจากนั้น การศึกษาผลของอุณหภูมิที่ 50°ซ. และ 60°ซ. ต่อกระบวนการไฮโดรไลซิสของมูลวัวในถังปฏิกิริยา semi-batch reactor ที่เวลาเก็บกักทางชลศาสตร์ 20 วัน พบว่า อุณหภูมิมีผลกระทบด้านลบต่อกระบวนการไฮโดรไลซิส โดยมีสาเหตุมาจากความเข้มข้นของแอมโมเนีย เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น.สำหรับเกณฑ์การออกแบบในการศึกษานี้ใช้ค่าความเข้มข้นของกรดอินทรีย์ระเหยง่ายและเวลาเก็บกักทางชลศาสตร์เป็นตัวแปรสำคัญในการออกแบบถังปฏิกิริยา methanogenesis และสมการออกแบบเสนอในรายงานนี้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300