การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ควบคุมกลิ่นและปริมาณเอทิลีนเพื่อการส่งออกทุเรียน = development of odor and ethylene controlling packaging for export durian / Pattra Maneesin...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Jamjumroon, Soravit | Maneesin, Pattra | Rerk-am, Ubon | Seebuppha, Chawee | Wungdheethum, Romanie | สรวิศ แจ่มจำรูญ | พัชทรา มณีสินธุ์ | อุบล ฤกษ์อ่ำ | ฉวี สีบุบผา | รมณีย์ หวังดีธรรม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Grant (I) Res. Proj. no. 48-10 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2007 รายละเอียดตัวเล่ม: p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ควบคุมกลิ่นและปริมาณเอทิลีนเพื่อการส่งออกทุเรียนหัวเรื่อง: Durian | Ethylene | Odor control | Packagingสาระสังเขป: This research aimed to develop an export package which is capable of controlling durian odor and ethylene level after packing. In order to select a suitable odor removing substance, an investigation of major compounds representing durian odor (c.v. Monthong) was carried out using gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) coupled with headspace solid phase micro-extraction (HS-SPME). Apparently, there were more than 20 compounds identified including aldehydes, alcohols, sulphurs and esters; however, sulphurs i.e. ethanethiol, 3,5 - dimethyl -1, 2,4 - trithiolane (I) and 3,5 - dimethyl - 1,2,4 - trithiolane (II) and S-ethyl ethanethioate, as well as esters e.g. ethyl acetate, ethyl butanoate, ethyl propanoate, ethyl-2-methylbuanoate, ethyl hexanoate and ethyl octanoate were major compounds representing durian odor. When compared between three selected substances, activated carbon performed much better on removing durian odor than pumice and coconut-shell charcoal. Therefore, it was selected for further study. The odor removing paper was then developed by incorporating 25% of activated carbon in the paper slurry before fabrication. Finally, the performance of the paper on removing the ofor was evaluated. According to both instrumental analysis and sensory evaluation, the developed paper had proven to help control durian odor after packing. The corrugated boxes containing durians with the carbon paper had less sulfurous odor than the ones containing durians without the carbon paper. It occurred that the assessors required more times to detect the odor from the boxes without the carbon paper. In addition, the paper containing higher amount of activated carbon had better odor adsorbing efficiency. However, it was necessary to allow an exposure of the paper to the odor in order to ensure its efficiency. Consequently, the developed paper could be used as an inside for odor controlling in the corrugated box normally used for durian export.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถช่วยควบคุมกลิ่นและปริมาณเอทิลีนของผลทุเรียนสดเพื่อการส่งออกภายหลังการบรรจุ. เริ่มจากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่ก่อให้เกิดกลิ่นของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง จากจังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค HS-SPME และ GC-MS พบสารประกอบหลัก 2 กลุ่มที่มีส่วนสำคัญต่อกลิ่นทุเรียน ได้แก่ สารประกอบซัลเฟอร์และเอสเทอร์ ซึ่งประกอบด้วย ethanethiol, 3,5 - dimethyl -1,2,4 - trithiolane (I) และ 3,5 - di,ethyl - 1,2,4 - trithiolane (II) และ S-ethyl ethanethioate ซ่งเป็นสารในกลุ่มซัลเฟอร์และเอสเทอร์ ได้แก่ ethyl acetate, ethyl propionate, ethyl butanoate, ethyl hexanoate และ ethyl octanoate เป็นต้น. การคัดเลือกสารที่มีคุณสมบัติในการควบคุมกลิ่นที่เหมาะสม พบว่าถ่านกัมมันต์ หรือ activated carbon มีประสิทธิภาพในการดูดซับองค์ประกอบของกลิ่นทุเรียนสูงกว่าถ่านกะลามะพร้าวและพัมมิซเป็นอย่างสูง เนื่องจากโครงสร้างที่มีรูพรุนเป็นจำนวนมาก จึงดูดซับองค์ประกอบของกลิ่นได้เป็นอย่างดี. จึงนำ activated carbon มาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตกระดาษคาร์บอนจากฟางข้าวในสัดส่วน 25% กระดาษที่พัฒนาขึ้น มีคุณสมบัติในการควบคุมกลิ่นและปริมาณเอทิลีนได้ โดยประสิทธิภาพในการควบคุมกลิ่นจะสูงขึ้น ถ้าใช้กระดาษที่หนาขึ้น เนื่องจากมีปริมาณ activated carbon เพิ่มสูงขึ้นนั่นเอง, แต่ประสิทธิภาพในการดูดซับจะลดลง หากกระดาษถูกปกปิดผิวสัมผัสหรือไม่มีโอกาสได้สัมผัสโดยตรงกับองค์ประกอบของกลิ่นหรือสารที่ต้องการดูดซับ. กระดาษที่ผลิตได้นำมาทดลองใช้เป็นกระดาษรองด้านในคิดเป็นร้อยละ 49 ของพื้นที่ และใช้เป็นแผ่นกั้นกล่องกระดาษลูกฟูกบรรจุทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่มีความสุก 80% พบว่า กล่องกระดาษลูกฟูกที่มีการใช้กระดาษคาร์บอนที่ได้พัฒนาขึ้นในการบรรจุทุเรียน สามารถช่วยควบคุมกลิ่นของทุเรียนในระหว่างการขนส่งและเก็บรักษาได้. โดยผู้ประเมินได้รับกลิ่นทุเรียนจากกล่องกระดาษลูกฟูกที่มีกระดาษคาร์บอนช้ากว่าการได้รับกลิ่นจากทุเรียนที่บรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูกที่ไม่มีกระดาษคาร์บอนเป็นเวลานาน 1 และ 4 วัน เมื่อเก็บทุเรียนที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิ 14 ± 1 degree celsius ตามลำดับ. ดังนั้นกระดาษคาร์บอนที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปใช้ทำกระดาษชั้นในกล่องกระดาษลูกฟูก เพื่อใช้ควบคุมกลิ่นทุเรียนภายหลังการบรรจุได้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300