การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ competitive exclusion เพื่อป้องกันการติดเชื้อในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ = research and development of competitive exclusion product used in chicken / Jaruwan Sitdhipol...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Aungkan, Kannika | Boonraeung, Utain | Chaiyawan, Neungnut | Fungsin, Bundit | Jirakraikosol, Supaporn | Laohakul, Kulnatee | Maneewong, Juthamas | Meeploy, Nisara | Niwasabutra, Kanidta | Phapugrangkul, Pongsaton | Sirisattha, Sophon | Siriwangchai, Thammatad | Sitdhipol, Jaruwan | Sriphumee, Piyamas | Taveeteptaikul, Punnathorn | Wannissorn, Bhusita | กุลนที เลาหะกุล | หนึ่งนุช ไชยวรรณ | ถิรไกรโกศล, สุภาพร | ปัณณธร ทวีเทพไทกุล | ขนิษฐา นิวาศะบุตร | บุญเรือง, อุเทน | พงศธร ประภักรางกูล | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | มณีวงศ์, จุฑามาศ | มีพลอย, นิษรา | ภูษิตา วรรณิสสร | ศรีภูมิ, ปิยะมาศ | ศิริวังชัย, ธรรมธัช | จารุวรรณ สิทธิพล | โสภณ สิริศรัทธา | อังคาร, กรรณิการ์ | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ข้อมูลการพิมพ์: Pathumtani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2552 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 78 p : tables, col. ill. ; 30 cm. (CONFIDENTIAL)ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ competitive exclusion เพื่อป้องกันการติดเชื้อในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่หัวเรื่อง: Antimicrobial activities | Bacteria | Bifidobacterium animalis | Bifidobacterium bifidum | Bifidobacterium pseudocatenulatum | Bifidobacterium pseudolongum | Campylobacter jejuni | Chickens | Clostridium perfringen | Enterococcus hirae | Escherichia coli | Lactobacillus crispatus | Lactobacillus raffinolactis | Salmonella enteritidis | Salmonella typhimuriumสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: Four-thousand nine hundred and eighty eight isolates from 255 intestine samples from back yard-, farm- and SPF chickens were studied for certain activities including antimicrobial activity against 5 pathogenic bacteria namely Sal,onella Typhimurium ATCC 11331, Escherichia coli 0157, S. Enteritidis DMST 15676, Clostridium perfringen and Camplobacter jejuni; tokerance to pH 2.5, and pH 2.5, and bile acid; adhesion to the wall of the test tube, and susceptibility to 5 types of antibiotic widely used for medication including amoxycillin (30 µg), tetracyclin (30 µg), penicillin (10 units), vancomycin (30 µg), and rifampicin (5 µg). It was found that only eight isolates had promising properties. The eight isolates were identified using API 50 CHL kit and 16S rDNA sequencing. The results revealed that they belonged to 7 species namely Lactobacillus crispatus, L. raffinolactis, Enterococcus hirae, Bifidoanimalis, B. bifidum, B. pseudocatenulatum and B. pseudolognum. The investigations on high temperature tolerance, chlorine tolerance, adhesion to Caco2 cell line together with antimicrobial efficiency against S. Enteritidis DMST 15676 using co-culture technique mimicking intestinal conditions of chicken were carried out. It was found that 7 strains could adhere to Caco2 cell line and exhibited 100% survival in solution containing 5 ppm chlorine after 1 hour. In the case of antimicrobial efficiency, Lactobacillus crispatus, L. raffinolactis could completely destroy S. Enteritidis DMST 15676 within and 30 minute exposure. In contrast, Enterococcus hirae, Bifidobacterium animalis, B. bifidum, B. pseudocatenulatum and B. pseudolongum were able to reduce S. Enteritidis DMST 15676 at 8.4%, 27%, 7%, 16% and 38%, respectively after co-culturing for 3 hours. As a consequence, Lactobacillus crispatus, L. raffinolactis, Enterococcus hirae, and B. pseudolongum were selected for further development as a competitive exclusion product (CE).สาระสังเขป: The comparative study of CE efficiency as a feed additive for broiler showed that, at 49 days, the group of chicks fed with 10 fold-diluted CE yielded more satisfactory results including weight gain, feed conversion ratio and performance index than those of the controlled group.สาระสังเขป: The oral feeding of CE to 1-day old chicks with the concentration of 10 cells/chick showed 80% prevention of the S. Enteritidis transmission among the tested chicks. The preventive efficacy was inversely proportional to concentration of S. Enteritidis fed to the chicks. The chicks received S. Enteritidis with the concentration higher than 10 CFU showed higher percentage of infection and lower preventive efficacy. Therefore, further improvement on CE should be done to obtain better preventive quality of the product when used in animal.สาระสังเขป: การให้เชื้อผสม CE แก่ลูกไก่อายุ 1 วัน ปริมาณ 10 เซลล์ต่อตัว จะช่วยป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ S. Enteritids ได 80% ของจำนวนไก่ทดลอง, ความสามารถในการป้องกันลูกไก่ไม่ให้ติดเชื้อ S. Enteritidis จะแปรผกผันกับปริมาณเชื้อ S. Enteritidis ที่ลูกไก่ได้รับ, กล่าวคือเมื่อลูกไก่ได้รับเชื้อ S. Enteritidis ปริมาณมากกว่า 10 เซลล์ขึ้นไป ลูกไก่จะมีจำนวนการติดเชื้อสูงและประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อก่โรคลดลง, ทั้งนี้ ยังจะต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงเชื้อผสมของ CE ให้มีคุณภาพสูงขึ้นเมื่อนำไปใช้ในสัตว์ทดลอง, ส่วนประสิทธิภาพของ CE ต่อผลการเลี้ยงไก่เนื้อที่อายุการเลี้ยง 49 วัน โดยเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มทดลองที่ให้ CE กับกลุ่มควบคุม, พบว่าไก่ที่ได้รับ CE/10 (เจือจาง 10 เท่า) มีผลการเลี้ยงที่ดีกว่ากลุ่มควบคุมในเรื่องของน้ำหนักตัว อัตราการแลกเนื้อ และค่าดัชนีผลการเลี้ยง.สาระสังเขป: ทำการแยกเชื้อแบคทีเรีย 4,988 ไอโซเลต จากตัวอย่างลำไส้ไก่และตัวอย่าง SPF จำนวน 255 ตัวอย่าง. จากนั้นนำเชื้อที่ได้มาทดสอบคุณสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถในการต้านเชื้อก่อโรค 5 ชนิด ได้แก่ Salmonella typhiumurium ATCC 11331, Escherichia coli 0157, S. Enteritidis DMST 15676, Clostridium perfringen, Campylobacter jejuni, การทนต่อกรดที่ pH 2.5, การทนต่อเกลือน้ำดี, การเจริญยึดเกาะข้างหลอด; ความไวต่อยาปฏิชีวนะที่ใช้กันแพร่หลายในทางการแพทย์ 5 ชนิด amoxycillin (30 µg), tetracyclin (30 µg), penicillin (10 units), vancomycin (30 µg) และ rifampicin (5 µg); พบว่ามีเชื้อเพียง 8 เชื้อ ซึ่งที่ผ่านคุณสมบัติต่าง ๆ , และจัดจำแนกสายพันธุ์โดยใช้ API 50 CHL, kit และลำดับเบสของ 16S rDNA. พบว่าเชื้อดังกล่าวแบ่งเป็น 7 สายพันธุ์ คือ Lactobacillus crispatus, L. raffinolactis, Enterococcus hirae, Bifidobacterium animalis, B. bifidum, B. pseudocatenulatum และ B. pseudolongum. จากนั้น นำไปศึกษาความสามารถในการเจริญยึดเกาะ Caco2 cell, การทนต่อสารละลายคลอรีน, และประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. Enteritidis DMST 15676 ที่ความเข้มข้น 10 เซลล์ต่อมิลลิลิตร โดยใช้วิธีการเลี้ยงร่วมกัน (co-culture), ภายใต้สภาวะเลียนแบบคล้ายในลำไส้ไก่. พบว่า เชื้อทั้ง 7 สายพันธุ์สามารถเจริญเกาะติด Caco2 cell line ได้ดีและเมื่อเชื้ออยู่ในสารละลายคลอรีนที่ความเข้มข้น 5 ppm. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง, เชื้อมีชีวิตรอดได้ทั้งหมด.สาระสังเขป: สำหรับประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อ Salmonella, พบว่า เชื้อ L. crispatus, และ L. raffinolactis สามารถทำลายได้ทั้งหมด ภายในระยะเวลาสัมผัส 30 นาที. ส่วนเชื้อ En. Hirae, B. animalis, B. bifidum, B. pseudocatenulatum, และ B. pseudolongum สามารถทำลายเชื้อได้ 8.4%, 27%, 7%, 16% และ 38% แตกต่างกัน, ตามลำดับที่เวลา 3 ชั่วโมง ของการเลี้ยงร่วมกัน, โดยเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เลี้ยงเฉพาะ Salmonella. ดังนั้น เชื้อที่จะนำไปศึกษาต่อในสัตว์ทดลองเป้าหมายเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ Competitive Exclusion (CE) มี 4 สายพันธุ์ คือ L. crispatus, L. raffinolacti, En. Hirae และ B. pseudolongum.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2009/1378
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2009/1378-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300