การตรวจปริมาณไซยาไนด์ในพืชสมุนไพรและการใช้พืชที่มีไซยาไนด์เป็นสารกำจัดแมลง = Determination of cyanide in Thai herbs and the use of cyanogenic plants as insecticide / Paramee Pengprecha...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Chobset, Vimonvan | Hoykaew, Pilawan | Junvee Fortune, Thippya | Meesuk, Weranut | Pengprecha, Paramee | Plangsangmas, Luxsamee | ปารมี เพ็งปรีชา | จุลหวี ฟอร์จูน, ทิพยา | ชอบเสร็จ, วิมลวรรณ | ปลั่งแสงมาศ, ลักษมี | มีสุข, วีรณัฐ | ห้อยแก้ว, พิลาวรรณ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-04ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2009 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 71 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การตรวจปริมาณไซยาไนด์ในพืชสมุนไพรและการใช้พืชที่มีไซยาไนด์เป็นสารกำจัดแมลงหัวเรื่อง: Bamboo | Cassava | Cleome gynaadra | Cyanides | Insecticidal plants | Ion chromatography | Melientha suavis | ไซยาไนด์ | ผักเสี้ยน | ผักหวาน | พืชกำจัดแมลง | พืชสมุนไพร | มันสำปะหลัง | หน่อไม้สารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: Plant samples were hydroyzed by acid, and distilled and then the vapor was collected in an alkaline solution. The cyanide in the alkaline solution was analyzed by ion chromatography. Cyanide was found in some plants including Cleome gynaadra (Linn) Briq, Melientha suavis Pierre, cassava and bamboo shoot.สาระสังเขป: The aqueous extract from the bamboo shoot contained 2-67 mg/kg of cyanide. These amounts did not affect the growth of common cutworms. Therefore, the extract from bamboo shoot is not suitable to be used as an insecticide.สาระสังเขป: The oral LD50 value of the aqueous extract from the bamboo shoot in the ratio of 1:1 w/w in rats was higher than 15,000 mg/kg of body weight (1.7 mg of cyanide). Therefore, the extract from bamboo shoot did not show any toxicity in rats. - Authors.สาระสังเขป: The plants containing more than 10 mg/kg of cyanide were cassavaa and bamboo shoods. The highest content of cyanide of 842 mg/kg was found in bamboo shoot, most at the tip, followed by the moddle, the base, and the coverings respectively. After 10 minutes of boiling in water, the majority content (about 80%) of cyanide was removed and after 60 minutes of boiling in water the substantial content (about 96%) of cyanide was removed.สาระสังเขป: Twelve edible plants : cassava (Manihot esculenta (L.) Crantz), bamboo shoot (Dendrocalamus asper Backer, Bambusa bambos, Thyrsostachys siamensis, Bambusa blumeana), Cleome gynaadra (Linn) Briq. Amorphophallus sp., Dioscorea hispida Dennst, Melientha suavis Pierre, passion fruit (Passiflora laurifolia Linn), Clitorea ternatea Linn, noni (Morinda citrifolia Linn), black galingale (Kaempferia parviflora Wall), curcumin (Curcuma longa Linn) and Curcuma zedoaria Rose were analyzed for their cyanide contents. The aim of this study was to conduct the comparative analysis for cyanide contents of the selected plants which were used in food and beverage manufacturing.สาระสังเขป: การทดสอบความเป็นพิษ (LD 50) โดยการให้สารสกัดจากหน่อไม้ในน้ำที่อัตราส่วน 1/1 โดยน้ำหนัก ทางปากแก่หนูมีปริมาณสูงกว่า 15,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักหนูทดลอง (คิดเป็นไซยาไนด์ 1.7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) พบว่าไม่เป็นอันตรายต่อหนูทดลอง.สาระสังเขป: จากนั้นได้ทดลองนำสารสกัดจากหน่อไม้มาใช้เป็นสารกำจัดหนอนกระทู้ผัก พบว่า สารสกัดจากหน่อไม้ไม่มีผลต่อการเจริญของหนอนกระทู้ผักในระดับความเข้มข้นของไซยาไนด์ 2-97 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม, ดังนั้น สารสกัดจากหน่อไม้ไม่สามารถใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น หนอนกระทู้ผักได้.สาระสังเขป: พืชที่มีไซยาไนด์สูงกว่า 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ได้แก่ มันสำปะหลังและหน่อไม้. โดยเฉพาะหน่อไม้พบไซยาไนด์ปริมาณสูงสุดถึง 842 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยมีสารสะสมสูงสุดที่ส่วนยอด, รองลงมาคือ ส่วนกลาง, ส่วนโคน, และเปลือก ตามลำดับ. สารประกอบไซยาไนด์ในหน่อไม้สามารถสลายตัวได้อย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 80 เมื่อต้มในน้ำเดือน 10 นาที และมากกว่าร้อยละ 96 เมื่อต้มในน้ำเดือดนาน 60 นาที.สาระสังเขป: วว. ได้ทำการวิเคราะห์พืชที่ใช้บริโภคจำนวน 12 ชนิด ได้แก่ มันสำปะหลัง, หน่อไม้, ผักเสี้ยน, บุก, กลอย, ผักหวาน, เสาวรส, อัญชัญ, ลูกยอ, กระชายดำ, ขมิ้นชัน และขมิ้นอ้อย เพื่อตรวจปริมาณไซยาไนต์ สำหรับนำมาใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการคัดเลือกพืชเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มที่ปลอดภัย. การวิเคราะห์ทำโดยคัดเลือกส่วนที่บริโภคมาวิเคราะห์ปริมาณไซยาไนต์รวม โดยใช้การไฮโดรไลส์ด้วยกรดและกลั่นเอาก๊าซไซยาไนด์ออกมาเก็บในสารละลายแอลคาไล และนำมาวิเคราะห์ด้วยไอออนโครมาโทรกราฟี. จากการวิเคราะห์พบไซยาไนด์ในพืชที่ศึกษาดังนี้: ผักเสี้ยน, ผักหวาน, มันสำปะหลัง และหน่อไม้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2009/1377
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2009/1377-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
100 ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในศุภวาระครบรอบ 100 ปี ของการเสด็จประพาสยุโรป ครั้งที่ 2 โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ ระยะที่ 3 การตรวจปริมาณไซยาไนด์ในพืชสมุนไพรและการใช้พืชที่มีไซยาไนด์เป็นสารกำจัดแมลง = การตรวจปริมาณไซยาไนด์ในพืชสมุนไพรและการใช้พืชที่มีไซยาไนด์เป็นสารกำจัดแมลง = รายงานกิจกรรม สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2551 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ competitive exclusion เพื่อป้องกันการติดเชื้อในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ = การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ competitive exclusion เพื่อป้องกันการติดเชื้อในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ =

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300