การพัฒนาตะกอนจุลินทรีย์ลักษณะเม็ดในระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศชนิด UASB สำหรับอุตสาหกรรมน้ำมันพืช = development of microbial granulation in the UASB wastewater treatment for palm oil mill factory / Preecha Ploypatarapinyo...[et al.]

Contributor(s): Bengapanyawong, Surapee | Boonman, Sopol | Dararat, Somchai | Homdokmi, Thavesak | Oatayakul, Jirawan | Ploypatarapinyo, Preecha | เบญจปัญญาวงศ์, สุรภี | สมชาย ดารารัตน์ | โสภณ บุญมั่น | ปรีชา พลอยภัทรภิญโญ | ทวีศักดิ์ หอมดอกไม้ | ออตยกุล, จิรวรรณ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
BCG: สิ่งแวดล้อม TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม Language: Thai Series: Res. Proj. no. 46-10, Sub Proj. no. 2Publisher: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2007 Description: ฉ, 130 p. : tables, ill.Other title: การพัฒนาตะกอนจุลินทรีย์ลักษณะเม็ดในระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศชนิด UASB สำหรับอุตสาหกรรมน้ำมันพืชSubject(s): Microbial granulation | Palm oil mill factory | Upflow anaerobic sludge blanket reactor | Waste water | Water treatment | น้ำเสีย -- การบำบัด | น้ำมันปาล์ม | พอลิเมอร์ | อุตสาหกรรมน้ำมันพืชOnline resources: Click here to access cover | Click here to access full-text Summary: The laboratory results demonstrated that an addition of the polymer at 5 mg/gSS could shorten granulation time and increase the amount of granulation. Sludge granulation in reactor 2 was observed after 120 days of operation, at the hydraulic retention time (HRT) 72 hours, while the organic loading rate (OLR) ranged from 1.07-8.57 g COD/L-day. The digester performance average in reactor 1 (control) was 93.40% COD removal and reactor 2 (adding polymer) was 94.41% COD removal. It was found that both biogas production rate and biogas yield increased when the organic loading increased. Biogas yield of reactor 1 was 1.959 m3/day and reactor 2 was 2.058 m3/day. - Authors.Summary: The objectives of this research were to study the influence of polymer on sludge granulation of the upflow anaerobic sludge blanket (UASB) reactor for treating palm oil mill factory wastewater. Two laboratory scale UASB reactors were used to determine the effective criteria for the start-up. This experimental research was designed to be a comparative experiment between the reactors, with and without polymer added.Summary: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของพอลิเมอร์ต่อการเริ่มเดินระบบยูเอเอสบีในการบำบัดน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม เพื่อหาเกณฑ์การเริ่มเดินระบบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แบบจำลองระบบบำบัดน้ำเสียแบบยูเอเอสบีจำนวน 3 ถัง ทำการศึกษาเชิงทดลอง ใช้การออกแบบเป็นการทดลองเชิงเปรียบเทียบระหว่างถังปฏิกิริยาที่เติมพอลิเมอร์กับถังปฏิกิริยาที่ไม่เติมพอลิเมอร์.Summary: ผลการทดลองที่ได้แสดงให้เห็นว่าการเติมพอลิเมอร์ที่ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อกรัมเอสเอส จะลดเวลาในการเกิดเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ลง และเพิ่มจำนวนของเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ขึ้น โดยสังเกตุได้ในวันที่ 120 ของการทดลอง ที่ระยะเวลาเก็บกักน้ำเสีย 72 ชั่วโมง, อัตรารับภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 1.07-8057 กรัมซีโอดีต่อลิตรต่อวัน. ประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยในถังปฏิกิริยาที่ 1 (ควบคุม) เท่ากับ 93.40% และในถังปฏิกิริยาที่ 2 (เติมพอลิเมอร์) เท่ากับ 94.41% และ พบว่าอัตราการผลิตก๊าซชีวภาพ และประสิทธิภาพการผลิตก๊าซสูงขึ้น เมื่อเพิ่มอัตรารับภาระสารอินทรีย์ โดยอัตราการเกิดก๊าซชีวภาพในถังปฏิกิริยาที่ 1 และ 2 มีค่าเท่ากับ 1.959 และ 2.058 ลิตรต่อวัน. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Item type Location Call number Status Last seen Copy No. Barcode
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2007/1360
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2007/1360-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300