การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผลไม้แช่อิ่มอบแห้งและน้ำมะขามพร้อมดื่ม = technology transfer of the production of dehydrated fruits and tamarind nectar

ผู้แต่งร่วม: Asa, Narongdej | Banjongsinsiri, Panida | Bunyaphak, Poonnapha | Chatket, Inthrawut | Eiamwat, Jirawat | Srinorakutara, Pornpattra | Srisawas, Suwanna | จิระวัฒน์ เอี่ยมวัฒน์ | อินทราวุธ ฉัตรเกษ | ปนิดา บรรจงสินศิริ | ปุณณภา บุญยะภักดิ์ | พรภัทรา ศรีนรคุตร | สุวรรณา ศรีสวัสดิ์ | ณรงค์เดช อาษา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Tech. Trans. no. 48-12 ; Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2007 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 52 p. : col. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผลไม้แช่อิ่มอบแห้งและน้ำมะขามพร้อมดื่มหัวเรื่อง: Dehydrated fruits | Food -- Preservation | Tamarind nectar | เทคโนโลยีอาหาร | น้ำมะขาม | ผลไม้แช่อิ่ม | ผลไม้แห้ง | อาหาร -- การเก็บและรักษาสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) by the Food Technology Department conducted the research on the production of dehydrated fruits and tamarind nectar which aim to disseminate the knowledge and processing technology to the rural communities in the central and northeastern provinces of Thailand through on-site training. The training course on dehydrated fruit process was held four times: once in Sing Buri and Lop Buri, and twice in Nakhon Ratchasima. Tamarind nectar process training was also conducted two times in Sing Buri and Lop Buri. There were 197 participants in the two training courses consisting of 185 agricultural housewives and 12 local officers. The knowledge and practical skills of attendees before and after training were evaluated. The results showed that 18 to 33 percent of attendees had less or very less knowledge before training whereas more than 86 percent of participants received good to very good knowledge after training. Overall, the majority (93 percent) of respondents accepted that the knowledge and technical skills provided in the training program were beneficial and practical. - Authors.สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยฝ่ายเทคโนโลยีอาหาร ได้ศึกษาพัฒนาการผลิตผลไม้แช่อิ่มอบแห้ง และการผลิตน้ำมะขามพร้อมดื่ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้และเทคโนโลยีสู่ชนบท บริเวณจังหวัดต่าง ๆ ของภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในรูปแบบการฝึกอบรม. ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้จัดการฝึกอบรมการผลิตผลไม้แช่อิ่มอบแห้งขึ้นที่ จ. สิงห์บุรี 1 ครั้ง, จ. ลพบุรี 1 ครั้ง, และ จ. นครราชสีมา 2 ครั้ง. ส่วนการผลิตน้ำมะขามพร้อมดื่มได้ทำการฝึกอบรมที่ จ. สิงห์บุรี 1 ครั้ง และ จ. ลพบุรี 1 ครั้ง. จากการจัดฝึกอบรมทั้ง 2 เรื่อง ปรากฏว่ามีผู้เข้าร่วมรับการฝึกอบรมทั้งสิ้น 197 คน ซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 185 คน และเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ 12 คน. จากการประเมินผล การอบรม พบว่าก่อนการฝึกอบรมผู้เข้าฝึกอบรม ร้อยละ 18-83 มีความรู้ในเรื่องที่อบรม อยู่ระดับน้อยถึงน้อยมาก แต่หลังจากผ่านการฝึกอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมร้อยละ 86 มีความรู้เพิ่มขึ้นอยู่ระดับดีถึงดีมาก. สรุปโดยรวมผู้เข้ารับการฝึกอบรมยอมรับว่า ความรู้และเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมเป็นประโยชน์และสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2007/1349
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2007/1349-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300