การผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อยโดยวิธีที่ไม่ทำให้น้ำทิ้งเป็นฟองเมื่อกำจัดด้วยระบบบ่อเติมอากาศ = chemical pulping of bagasse by means of no foam in waste water when treated by aerated pond / Naiyana Niyomwan...[et al.]

โดย: Niyomwan, Naiyana
ผู้แต่งร่วม: Busayasakul, Naronchai | Kamolratanakul, Anchalee | Kamolratanakul, Nipon | Opanonamata, Wattana | Sanitvongse, Satuen | Suvachittanont, Sirikalaya | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 19-05 Rep. no. 1 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1980 รายละเอียดตัวเล่ม: 39 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อยโดยวิธีที่ไม่ทำให้น้ำทิ้งเป็นฟองเมื่อกำจัดด้วยระบบบ่อเติมอากาศหัวเรื่อง: Bagasse | Foamless aerated lagoon system | Paper | Printing paper | Pulp and paper industry | Pulps | Waste water | Water treatment | Writing paperสาระสังเขป: For bagasse kept 1-2 years, the dry depithed bagasse method was employed, consuming Na2SO3 and NaOH which are 22 and 3 per cent respectively of dry depithed bagasse. The manufactured pulp had a value of permanganate number 14 which requires active chlorine for bleaching of 7 per cent of dry unbleached pulp. The wet depithed bagasse process consumed Na2SO3 and NaOH corresponding to 19 and 2 per cent of dry depithed bagasse respectively. The time in increasing the temperature to 170 degree celsius or 7 kg/cm2 pressure was 45-60 min. The time required for pulping at maximum temperature is 5 hr. The average liquors ratio corresponded to 4 : 1. The resulted pulp gave a required value of permanganate number 10 and active chlorine of 5 per cent for bleaching. The physical properties of pulp produced from these two method of deptithing were alike. TISTR has recommended the alkaline sulpite process of dry depithed bagasse as the best method for application, since not only does an adjustment on existing equipment for wet depithing involve additional cost, but also there is the problem of shortage of water for cleaninf the bagasse pulp. Thus under the present condition, only an adjustment in the process of pulping is appropriate.สาระสังเขป: The research was conducted in 5 stages: 1) study the preliminary data on the company's production of bagasse pulp for use as references, 2) research on the preparation of appropriate blenached bagasse used for the production of bagasse pulp, 3) study the production process in manufacturing bleached bagasse pulp which entails low cost of production and discharges foamless effluent with the application of an Aerated Lagoon system, 4) study the suitability of waste water treatment in connection with the manufacturing of bagasse pulp and 5) conduct mill test for confirmation of the process. However the wet depithed bagasse method required additional adjustment to the company's existing equipment and systems. The manufacturing of bagasse pulp by using the alkaline sulplite process gave foamless effluent after the properly treatment of BOD 131 ppm. when using the suitable Aerated Lagoon system. The appropriate amount of chemicals corresponding to the bagasse can be classified as follows:สาระสังเขป: The study on the manufacturing of bleached bagasse pulp for printing and writing paper has been made as a contract research for the Siam Paper Co., Ltd. by the Thailand Institute of Scientific and Technological Research, aiming at lowering the cost of production by means of an appropriate foamless Aerated Lagoon system.สาระสังเขป: กากอ้อยอายุในช่วงระยะเวลาการเก็บ 1-2 ปี แยกขุยด้วยวิธีแห้ง (Dry depithed bagasse) ใช้ Na2SO3 ร้อยละ 3 ของน้ำหนักแห้งของกากอ้อยที่แยกขุยแล้ว. เยื่อกระดาษที่ผลิตได้มีค่า Permanganate number 14 ซึ่งต้องการ Active chlorine ในการฟอกร้อยละ 7 ของเยื่อที่ยังไม่ได้ฟอก. กากอ้อยแยกขุยด้วยวิธีเปียก (Wet depithad bagasse) ใช้ Na2SO3 ร้อยละ 19 และ NaOH ร้อยละ 2 ของน้ำหนักแห้งของกากอ้อวยที่แยกขุยแล้ว. เวลาในการเพิ่มอุณหภูมิเป็น 170 องศาเซลเซียส หรือความดันไอ 7 กก./ซม.2 นาน 45-60 นาที, เวลาตุ้มเยื่อที่อุณหภูมิสูงสุด 5 ชม. อัตราส่วนน้ำยาต่อวัตถุดิบเฉลี่ย 4:1 เยื่อกระดาษที่ผลิตได้มีค่า Permanganate number 10 ซึ่งต้องการ Active chlorine ในการฟอกร้อยละ 5 ของเยื่อที่ยังไม่ได้ฟอก. คุณสมบัติทางกายภาพของเยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากกากอ้อยที่แยกขุยออกทั้ง 2 วิธีนี้ ทัดเทียมกัน. วท. แนะนำให้ใช้กากอ้วยยที่แยกขุยออกโดยวิธีแห้ง (Dry depithing) ในการผลิตตามกรรมวิธีซัลไฟต์ที่ pH สูง (Alkaline sulphite), เพราะการปรับปรุงเครืองมือให้ใช้แยกขุยออกด้วยน้ำ (Wet depithing) นอกจากจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีปัญหาเรื่องน้ำที่จะมาใช้ล้างกากอ้อยเพิ่มขึ้นอีกด้วย, จึงเห็นสมควรว่าในสถานการณ์ปัจจุบันควรจะปรับปรุงแต่กรรมวิธีที่ใช้ในการต้มเยื่อก่อนแต่ด้านเดียว.สาระสังเขป: การศึกษาวิจัยการผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อยเป็นบริการงานวิจัยที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยให้แก่บริษัทกระดาษศรีสยามจำกัด, ภายใต้วัตถุประสงค์ที่จะหากรรมวิธีที่เหมาะสมในการผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อย โดยมีต้นทุนการผลิตต่ำลงกว่ากรรมวิธีที่บริษัทฯ ได้ทดลองผลิตอยู่ และไม่ทำให้เกิดฟองในน้ำทิ้งเมื่อทำการกำจัดโดยระบบบ่อเติมอากาศ (Aerated lagoon) ที่เหมาะสม. การศึกษาวิจัยแบ่งออกเป็น 5 ขั้น โดยเริ่มต้นจากศึกษาข้อมูลเบื้องต้นการผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อยของบริษัทฯ เพื่อไว้เป็นข้อมูลอ้างอิง. ขั้นที่สองคือการศึกษาวิจัยการเตรียมกากอ้อยที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการผลิตเยื่อกระดาษ. ขั้นที่สาม คือการศึกษาวิจัยกรรมวิธีผลิตเยื่อกระดาษจากกากอ้อยที่มีต้นทุนการผลิตต่ำและไม่ทำให้เกิดฟองในน้ำทิ้ง เมื่อจำกัดด้วยระบบบ่อเติมอากาศที่เหมาะสม. ขั้นที่สี่ ศึกษาวิจัยความเหมาะสมของน้ำทิ้งเนื่องจากการผลิตเยื่อกระดาษ, และขั้นสุดท้ายเป็นการยืนยันผลของการศึกษาวิจัยด้วยการทดลองผลิตในระดับโรงงาน. ผลของการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่า การใช้กากอ้อยที่แยกขุยออกโดยวิธีเปียก (Wet depithed bagasse) ทำให้ต้นทุนในการใช้เคมีภัณฑ์ต่ำกว่าการใช้กากอ้อยที่แยกขุยโดยวิธีแห้ว (Dry depithed bagasse). แต่การแยกขุยออกโดยวิธีเปียกจำเป็นต้องเพิ่มเติมและดัดแปลงเครื่องมือและระบบต่าง ๆ ที่บริษัทฯ มีอยู่แล้วบ้าง. การผลิตเยื่อกระดาษโดยกรรมวิธีซัลไฟต์ที่ pH สูง (Alkaline sulpite process) ไม่ทำให้เกิดฟองในน้ำทิ้งเมื่อกำจัดด้วยระบบบ่อเติมอากาศที่เหมาะสม. ค่า BOD ของน้ำทิ้งโดยกรรมวิธีซัลไฟต์ดังกล่าวนี้เมื่อกำจัดแล้ววัดได้ 131 ppm ปริมาณเคมีภัณฑ์ที่พอเหมาะสำหรับกากอ้อยที่บริษัทฯ ใช้อยู่แยกได้ดังนี้:
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300