การบังคับการออกดอกของสับปะรดด้วยสารเคมี = chemical control of the flowering of pineapple / Somsong Lekskul

โดย: Lekskul, Somsong
ผู้แต่งร่วม: สมทรง เล็กสกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Prmme. no. 56, Res. Proj. no. 56/3 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1976 รายละเอียดตัวเล่ม: 102 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การบังคับการออกดอกของสับปะรดด้วยสารเคมีหัวเรื่อง: Flowering | Pineappleสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Aiming at improving pineapple yields by chemically inducing flowering before normal floral differntiation, 12 experiments were conducted at monthyl intervals from February 1972 to June 1973 at Chon Buri.สาระสังเขป: Each of the ten chemicals (B-9, BOH, calcium carbide, Cycocel, 2, 4-D, Ethrel, Maleic hydrazine, NAA, Planofix and SNA) was used at three different concentrations and applied at 50 ml/plant by two different methods: spraying and dipping into the heart of the pineapple plants, 9-17 months old. Flowers were counted at 45 and 70 days after treatment.สาระสังเขป: Satisfactory results were obtained by dipping method from: Ethrel at 1/4 lb/ccre plus urea 86 lb/acre, BOH at 0.12 per cent concentration; Ethrel at 1/2 lb/acre, and calcium carbide at 1.5 per cent solution by weight. It was also noted that Ethrel plus urea was efficient by both methods. The growth regulating hormones (Planofix, NAA and SNA) were effective only by spraying, and their flowering percentages were comparatively low and fluctuating. Cycocel, 2, 4-D and Maleic hydrazine gave the least flowering induction compared with the control. Authorสาระสังเขป: ได้ทำการทดลองเปรียบเทียบการใช้สารเคมีเร่งการออกดอกของสับปะรดที่เคยได้ผลดีมาแล้วในต่างประเทศ ที่ไร่ของบริษัทอาหารสยามจำกัด, อ.บ้านบึง, จล.งชลบุรี รวมทั้งสิ้น 12 การทดลองในระหว่างปี 2515-2516. ทำการทดลองทุก ๆ เดือน โดยใช้สารเคมีรวม 10 ชนิด คือ: B-9, BOH, แคลเซียมคาร?ไบด์, Cycocel, 2, 4-D, Ethrel, MH, NAA, Planofix, และ SNA ชนิดละ 3 ระดับความเข้มข้น. ในขณะเดียวกัน ได้เปรียบเทียบวิธีการใช้ 2 วิธี คือการใช้สารละลายฉีดบริเวณยอดและตักใส่ยอดของต้นสับปะรด ในปริมาณต้นละ 50 ซีซี. ต้นสับปะรดที่ใช้ในการทดลองนี้มีอายุตั้งแต่ 9-17 เดือน, ทำการตรวจดูเปอร์เซ็นต์การออกดอกหลังจากใช้สารเคมีเร่งแล้ว 45 วันและ 70 วัน.สาระสังเขป: ผลการทดลองปรากฏว่า สารเคมีเร่งการออกดอกของสับปะรดที่ได้ผลดีด้วยวิธีการตักหยอดคือ Ethrel 0.03% โดยปริมาณ ผสม urea 5% โดยน้ำหนัก, BOH 0.16% โดยปริมาตร, Ethrel 0.06% โดยปริมาตร, และแคลเซียมคาร์ไบด์ในรูปสารลดลาย 1.5% โดยน้ำหนัก. Ethrel ผสม urea นั้นให้ผลดีทั้งสองวิธี. สำหรับสารเคมีพวก "ฮอร์โมน" คือ Planofix, NAA, และ SNA ให้เปอร์เซ็นต์การออกดอกต่ำและไม่แน่นอนเหมือนกับสารเคมีพวกที่กล่าวมาแล้ว. เป็นที่น่าสังเกตว่า สารเคมีพวกนี้จะแสดงผลตอบสนองต่อวิธีการฉีดมากกว่าวิธีการตักหยอด. สำหรับสารเคมี Cycocel, 2, 4-D, และ MH ให้ผลใกล้เคียงกับการไม่ใช้สารเคมี. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1976/445
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1976/445-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300