การหมักใบมันสำปะหลังเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ = Cassava leaves fermentation for animal feed / Jiraporn Sukhumavasi, Malee Sundhagul (CONFIDENTIAL)

โดย: Sukhumavasi, Jiraporn
ผู้แต่งร่วม: Sundhagul, Malee | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 43ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1977 รายละเอียดตัวเล่ม: 31 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การหมักใบมันสำปะหลังเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์หัวเรื่อง: Cassava | Cassava as feed | Feeds | Fermentationสาระสังเขป: At present Thailand is one of the large suppliers of cassava product in the world market. Approximately 6.2 million tonnes of cassava roots are produced annually. Though analytical results showed that fresh cassava leaves have high protoin content of 6%, the leaves are still not fully utilized because of their poisonous cyanogenic glucoside. The waste is estimated about 1 million tonne per year, therefore, nutritionally speaking, about 60,000 tonnes of valuable and much needed protein in cassava leaves are wasted yearly.สาระสังเขป: The experiment on pig feeding was done by using the dried spontaneous fermented leaves as a protein supplement (20-80%) in the ration formula. Results have been promising. Palatability and growth of pig is as well as control. There is no sign of cyanide toxicity and no cyanide in the pig's serum.สาระสังเขป: The microbiology section of ASRCT tried to develop the method for the elimination or reduction of poisonous cyanide. Two microbial processes were performed. One was spontaneous fermentation, and the other was fermentation with the use of mold inoculum. The result showed that more than 90% of cyanide was reduced by both methods and the cyanide left (< 50 pp,) is at harmless level. Moreover, the proteinaceous value of the cassava leaves is not altered.สาระสังเขป: ถึงแม้นปัจจุบันนี้ ประเทศไทยสามารถผลิตหัวมันสำปะหลังได้ปีละประมาณ 6.2 ล้านตัน แต่การใช้ประโยชน์จากใบมันสำปะหลัง, ซึ่งคาดว่ามีปริมาณมากถึง 1 ล้านตันต่อปี, ยังมิได้เป็นที่นิยมแพร่หลาย. ทั้งนี้เนื่องจากมันสำปะหลังมีสารพิษพวกไซยาโนเจนิกกลูโคไซด์อยู่. ผลจากการวิเคราะห์พบว่าใบมันสำปะหลังสดมีคุณค่าทางอาหารสูง, โดยเฉพาะมีโปรตีนถึงร้อยละ 6, ดังนั้นในปีหนึ่ง ๆ ประเทศเราได้สูญเสียโปรตีนในรูปของใบมันสำปะหลังประมาณ 6 หมื่นตัน. แผนกจุลชีววิทยา, สวป. จึงได้พิจารณาหาวิธีทำลายสารพิษไซยาไนด์, เพื่อจะได้นำใบมันสำปะหลังมาใช้เป็นอาหารเสริมโปรตีนสำหรับสัตว์. การศึกษาทดลองในขั้นนี้ได้ใช้กรรมวิธีทางจุลชีววิทยาคือ การหมัก 2 วิธี. วิธีหนึ่งเป็นการหมักโดยใช้เชื้อแบคทีเรียตามธรรมชาติ, อีกวิธีหนึ่งเป็นการหมักโดยใช้เชื้อราสายพันธุ์ที่ใช้กันอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตอาหาร. ผลการทดลองปรากฏว่าทั้งสองวิธีสามารถลดไซยาไนด์ได้เกินกว่าร้อยละ 90, และปริมาณไซยาไนด์ที่เหลืออยู่ต่ำกว่า 50 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งเป็นระดับที่ไม่เป็นอันตราย; ทั้งปริมาณโปรตีนก็ไม่เปลี่ยนแปลง. ได้ทดลองใช้ใบมันหมักโดยแบคทีเรียตามธรรมชาติที่ตากแห้งแล้วผสมอาหารเลี้ยงสุกรระยะที่กำลังเจริญเติบโต, โดยใช้ใบมันหมักแทนอาหารโปรตีนจากพืชในสูตรอาหารที่ใช้เลี้ยงตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง 80, ผลปรากฏว่า แม้จะใช้ใบมันหมักสูงถึงร้อยละ 80 สุกรก็ยอมรับกินอาหารนั้นได้เช่นปกติ ทั้งการเจริญเติบโตได้ดีไม่ต่างจากอาหารเปรียบเทียบ, และตรวจไม่พบไซยาไนด์ในเซร่มของสุกรเลย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300