การศึกษาความเหมาะสมทางด้านการตลาดและการลงทุนในการผลิตปุ๋ยชีวภาพเชิงอุตสาหกรรม = pre-feasibility study on biofertilizer pilot plant project / Ponparn Ratasirayakorn...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Musikawatr, Kosol | Numchaisewatana, Sakdida | Ratasiraayakorn, Ponparn | Siripongsaroj, Kriangsak | Sukkasem, Prasert | ศักดิ์ดา นำชัยสี่วัฒนา | โกศล มุสิกวัตร | ภรณ์พรรณ รัตสิรยากร | เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ | ประเสริฐ สุขเกษม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Techno-Economics Division
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. 31-09 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1989 รายละเอียดตัวเล่ม: 43 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเหมาะสมทางด้านการตลาดและการลงทุนในการผลิตปุ๋ยชีวภาพเชิงอุตสาหกรรมหัวเรื่อง: Algae | Biofertilizers | Blue-green algae | Fertilizersสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Algae biofertilizer is made of blue-green algae which has a characteristic of fixing nitrogen from the air and transforming it into nitrogen nutrition. The ingredients of this product are blue-green algae, soil, manure and rock phosphate. The product can be used to substitute chemical fertilizer especially that of urea.สาระสังเขป: The objective was to make a feasibility study of market and investment in manufacturing biofertilizer at the industrial scale of 5 tons per day.สาระสังเขป: The result of the study indicated that the product of biofertilizer would face high level of competition problem with chemical fertilizer in the market, due to their equal prices and the relatively more complex and the technique of using biofertilizer. Nevertheless, when considering the investment cost of using both fertilizers in a paddy field per rai, the result of the study indicated that using biofertilizer could save up to 5 times. Moreover, the biofertilizer could conserve the quality of soil while the chemical fertilizer reduce soil quality in long run. The study revealed that the total investment cost on biofertilizer industry with a capacity of 5 tons per day was 3,697,000 baht--2,590,000 baht construction cost and 828,000 baht operating cost per year. The production cost per kilogram would be 4.20 baht with the internal rate of return at 31.84 per cent and the period of recovery of 4 years and 4 months.สาระสังเขป: The study recommends that all concerned government agencies should firstly step up to promotion of biofertilizer and the demonstration of how to apply it, and should secondly encourage the farmers to set up small factories to produce biofertilizer in their farms. Authorsสาระสังเขป: ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ คือ ประการแรก ควรมีการขยายการประชาสัมพันธ์และการสาธิตการใช้ปุ๋ยชีวภาพให้กว้างขวาง โดยผ่านหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง, และประการที่สอง ควรส่งเสริมให้จัดตั้งโรงงานขนาดเล็กในระดับไร่นา ซึ่งดำเนินการโดยเกษตรกรเอง. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: ปุ๋ยชีวภาพ เป็นปุ๋ยที่ผลิตจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว ซึ่งเป็นสาหร่ายที่มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศแล้วแปรสภาพมาเป็นธาตุอาหารไนโตรเจน ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้. ผลิตภัณฑ์ชนิดนี้อยู่ในรูปของสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวผสมกับดิน, ปุ๋ยคอกและหินฟอสเฟต. จากผลการทดลองใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกข้าว ปรากฏว่าปุ๋ยชนิดนี้สามารถทดแทนปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะปุ๋ยยูเรียได้อย่างดี.สาระสังเขป: ผลการศึกษาพบว่า ปุ๋ยชีวภาพนั้นต้องเผชิญปัญหาในการแข่งขันกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ค่อนข้างสูง, ทั้งนี้เพราะระดับราคาของปุ๋ยทั้งสองไม่แตกต่างกัน และวิธีการใช้ปุ๋ยชีวภาพนั้นค่อนข้างสลับซับซ้อนกว่าการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์. อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงต้นทุนของการใช้ปุ๋ยทั้งสองชนิดในการปลูกข้าวต่อไร่ พบว่า กรณีที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพนั้นสามารถประหยัดต้นทุนการใช้ปุ๋ยได้ถึง 5 เท่าตัว. ส่วนผลผลิตจากการใช้ปุ๋ยทั้งสองชนิดเปรียบเทียบนั้น ขณะนี้ยังไม่ทราบตัวเลขที่แน่นอน. นอกจากนั้นการใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกพืชข้อที่ดีกว่าคือ เป็นการรักษาคุณภาพของดินในขณะที่การใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ติดต่อกันนาน ๆ จะทำให้ดินเสื่อมคุณภาพลง. และจากการศึกษาถึงการจัดตั้งโรงงานผลิตปุ๋ยชีวภาพ ขนาดกำลังการผลิต 5 ตันต่อวัน ต้องลงทุนทั้งสิ้น 3,697,000 บาท, จำแนกเป็นค่าที่ดิน, ค่าก่อสร้างอาคาร, เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวม 2,590,000 บาท และเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินการต่อปี 828,000 บาท. อัตราผลตอบแทนของโครงการอยู่ในระดับสูง คือ ร้อยละ 31.84, ราคาต้นทุนการผลิตกิโลกรัมละ 4.20 บาท, และระยะเวลาการคืนทุนคือ 4 ปี 4 เดือน.สาระสังเขป: วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในเชิงการตลาด และการลงทุนของการผลิตปุ๋ยชีวภาพในขั้นอุตสาหกรรม ขนาดกำลังการผลิต 5 ตันต่อวัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1989/834
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1989/834-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300