การใช้น้ำมันพืชเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล = vegetable oils as fuel for diesel engines / Peesamai Jenvanitpanjakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Jenvanitpanjakul, Peesamai | Munsakul, Supatra | Siripongsaroj, Kriangsak | Srivichit, Decho | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | สุภัทรา มั่นสกุล | เดโช ศรีวิจิตร | เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Chemical Industry Department> Oils & Fats Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 24-16 ; Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1982 รายละเอียดตัวเล่ม: 32 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การใช้น้ำมันพืชเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซลหัวเรื่อง: Coconut oil | Coconuts | Curcas oil | Diesel motor | Fuels | Oils and fats | Peanut oilสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A study was made on the use of vegetable oils as diesel fuels in 7 hp 1 cylinder diesel engines. The test engines were of the nozzle type which applies direct injection with no modifications. The vegetable fuels used consisted of crude curcas, coconut, peanut, refined peanut oil, oil blend of 40 per cent crude peanut oil with diesel oil, and oil blend of 50 per cent crude peanut oil with kerosine and palm ester.สาระสังเขป: Comparisons of short-term engine performances by using vegetable and diesel oil were made. Results showed that the torque on vegetable fuels equalled or were close in value to that on diesel oil. Fuel consumption on crude curcas, coconut, peanut, refined peanut oil, oil blend of 40% crude peanut oil with diesel oil, and palm ester were 12.4, 21.2, 6.2, 11.5, 13.3, and 8% respectively higher than that on diesel oil; but consumption on oil blend of 50% crude peanut oil with kerosine was 4.4% lower than that on diesel oil. Authors.สาระสังเขป: การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ระยะสั้นโดยใช้น้ำมันพืชและน้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง ผลปรากฏว่า เครื่องยนต์ให้แรงออกมามีค่าใกล้เคียงกัน. ส่วนการเปรียบเทียบอัตราการใช้เชื่อเพลิงนั้น น้ำมันพืชส่วนใหญ่จะใช้เชื้อเพลิงสิ้นเปลืองกว่าน้ำมันดีเซล. สำหรับการเดินเครื่องยนต์ที่จะดประหยัดพลังงานนั้น การใช้น้ำมันเมล็ดสบู่ดำชนิดดิบ, น้ำมันมะพร้าวชนิดดิบ, น้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ, น้ำมันถั่วลิสงชนิดรีไฟน์, น้ำมันผสมของน้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ 40% กับน้ำมันดีเซลและเอสเตอร์ของน้ำมันปาล์ม จะสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงกว่าน้ำมันดีเซลอยู่ 12.4, 21.2, 6.2, 11.5, 13.3, และ 8% ตามลำดับ, ส่วนการใช้น้ำมันผสมของน้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ 50% กับน้ำมันก๊าดจะสิ้นเปลืองน้อยกว่าน้ำมันดีเซลอยู่ 4.4%. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: การศึกษาการใช้น้ำมันพืชเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล ได้ทำการทดสอบกับเครื่องยนต์ดีเซล 7 แรงม้า 1 ลูกสูบ, ลักษณะหัวฉีดเชื้อเพลิงเป็นการฉีดเข้าโดยตรงและไม่มีการดักแปลงชิ้นส่วนของเครื่องยนต์. น้ำมันพืชที่ใช้เป็นเชื้อเพลืง คือ น้ำมันเมล็ดสบู่ดำชนิดดิบ, น้ำมันมะพร้าวชนิดดิบ, น้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ, น้ำมันถั่วลิสงชนิดรีไฟน์, น้ำมันผสมระหว่างน้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ 40% กับน้ำมันดีเซล, น้ำมันผสมระหว่างน้ำมันถั่วลิสงชนิดดิบ 50% กับน้ำมันก๊าดเอสเตอร์ของน้ำมันปาล์ม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1982/664
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1982/664-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300