การใช้ประโยชน์ไขอ้อยจากกากตะกอนกรองโรงงานน้ำตาลเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง (ลิฟสติก) = Utilization of sugar cane wax from sugar industries waste product, filter mud, in cosmetic manufacturing (Lipstick) / Sasithorn Wasuwat, Prakongsiri Disyaboot (CONFIDENTIAL)

โดย: Wasuwat, Sasithorn
ผู้แต่งร่วม: Chantarasomboon, Prakongsiri | Disyaboot, Pornsawan | จันทรสมบูรณ์, ประคองศิริ | ลิฤทธิ์ ดิษฐสอน | ศศิธร วสุวัต | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53/1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1975 รายละเอียดตัวเล่ม: 9 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การใช้ประโยชน์ไขอ้อยจากกากตะกอนกรองโรงงานน้ำตาลเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง (ลิฟสติก)หัวเรื่อง: Cosmetics | Lipstick | เครื่องสำอาง | Sugar industry | Sugarcane | Sugarcane wax | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: There is a great amount of filter mud as a waste material from sugar industries. ASRCT has started a research project to find out the feasibility of sugar-cane was manufacturing in Thailand. This report covers the laboratory work on wax production and purification (yield 3.6 per cent), determination of its chemical and physical properties, utilization in developing lipstick formula and, comparison of the local product with the imported one. The results obtained are satisfactoryสาระสังเขป: ประเทศไทยได้มีชาวไร่อ้อยทำการปลูกอ้อยทั้งสิ้นทั่วประเทศในพื้นที่ประมาณ 1.13 - 1.61 ล้านไร่, มีผลผลิตอ้อยสด 9.5 - 13 ล้านตันต่อปี; อ้อยเหล่านี้ส่วนใหญ่ส่งเข้าป้อนโรงงานน้ำตาลซึ่งผลิตน้ำตาลได้ประมาณปีละ 0.6 - 1.0 ล้านตัน. กากอ้อย เช่น ชานอ้อย (bagasse) ขายให้แก่โรงงานทำกระดาษในราคาประมาณตันละ 50 - 60 บาท, บางส่วนใช้เป็นเชื้อเพลิง; ส่วนกากตะกอนกรอง (filter mud or filter cake), ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้และทิ้งเสีย, ยังไม่ได้รับการใช้ประโยชน์เท่าที่ควร. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทยจึงได้ทำการวิจัยเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อันเป็นทางเพิ่มรายได้แก่โรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาล; และช่วยให้มีที่ใช้ประโยชน์จากอ้อยตามจำนวนที่มีปลูกอยู่แล้วในประเทศ, ในการริเริ่มและพัฒนาอุตสาหกรรมชนิดอื่น ๆ นอกเหนือไปจากอุตสาหกรรมน้ำตาล อันเป็นมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ประชาชาติอย่างหนึ่ง.สาระสังเขป: ผลงานขึ้นต้นนี้รายงานถึงการสำรวจประเมินจำนวนกากตะกอนกรองที่มีใน 2 เขตใหญ่ (ปีละ 234,000 ตัน) ; การสกัดไขอ้อยและทำให้ไขบริสุทธิ์ และศึกษาผลผลิต (วัตถุดิบที่มีสามารถผลิตได้ปีละ 2,560 ตัน); การเปรียบเทียบคุณสมบัติของไขอ้อยที่สกัดได้กับไขพืชที่เคยต้องสั่งจากต่างประเทศและมีราคาแพงมาก: การทดลองผลิตลิฟสติคจากไขอ้อยที่สกัดได้เองและเปรียบเทียบกับลิฟสติคที่ผลิตจาก Carauba wax ซึ่งเป็นไขพืชสั่งจากต่างประเทศ. ผลงานขั้นต้นที่ได้รับจากห้องปฏิบัติการแล้วนี้ เพียงพอที่จะสนับสนุนให้ดำเนินการวิจัยขั้นต่อไป เพื่อให้มีผู้สนใจผลิตขั้นอุตสาหกรรมได้ในที่สุด. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1975/502
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1975/502-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300