การใช้ประโยชน์ไม้ปอสาในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ = utilization of Po-sa in pulp industry / Naiyana Niyomwan...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Asavapiyanond, Sombat | Kamolratanakul, Anchalee | Niyomwan, Naiyana | Opanonamata, Wattana | Suvachittanont, Sirikalaya | วัฒนา โอภานนท์อมตะ | อัญชลี กมลรัตนกุล | นัยนา นิยมวัน | ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์ | สมบัติ อัศวปิยานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Chemical Industry Department> Fibre Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 22-04 Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1983 รายละเอียดตัวเล่ม: 14 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การใช้ประโยชน์ไม้ปอสาในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษหัวเรื่อง: Broussonetia papyrifera | Hand-made paper | Paper | Paper mulberry | Papermaking | Po-sa | Pulp and paper industryสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Using "Po-sa" (Broussonetia papyrifera Vent.) for making hand-made paper has been practised for centuries. Hand-made paper in Japan is so well devellped that its quality is much better than Thai "Po-sa" hand-made paper. In Thailand "Po-sa" paper making is performed as a home industry especially of the people in the North, using only tree bark as raw material. "Po-sa" tree is naturally fast growing and is found in almost every part throughout the country. Due to its long fibre bark and white woody core, and effort should be made to utilize Po-sa in pulp industry. This study is a preliminary investigation of chemical pulp production from Po-sa. The proportion of "Po-sa" bark to its stem is approximately 1 to 8 in weight. In making hand-made paper, a great quantity of the Po-sa woody core is wasted. Utilization of the whole stem of "Po-sa" plant means making full use of the tree. The results of this investigation indicate that there is a promising trend for "Po-sa" tree to be fully used for chemical pulp production. Thus further studies on the utilization of Po-sa for pulp industry should greatly be encourage. Authorsสาระสังเขป: การใช้ปอสาทำกระดาษมีมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว, แต่การผลิตกระดาษสาในประเทศญี่ปุ่นมีการพัฒนามากจนได้กระดาษมีคุณภาพสูงกว่าของไทย. การผลิตกระดาษสาในประเทศไทยเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนที่ทำกันเฉพาะทางภาคเหนือของประเทศและใช้แต่เปลือกสาเป็นวัตถุดิบเท่านั้น. ปอสาเป็นไม้ป่าขึ้นง่ายโตเร็ว พบในเกือบทุกภาคของประเทศ. เนื่องจากเปลือกสามีเยื่อใยยาวและเนื้อไม้มีสีขาวจึงน่าที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษเป็นอย่างยิ่ง. การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นของการทดลองผลิตเยื่อเคมีจากไม้ปอสา. เนื่องจากปริมาณของเปลือกสาต่อไม้ทั้งต้นคิดโดยน้ำหนักเพียง 1 ส่วนใน 8 ส่วน, เมื่อทำกระดาษด้วยมือปริมาณของแกนไม้จึงเสียเปล่าไปเป็นจำนวนมาก. การหาทางใช้ประโยชน์ปอสาทั้งต้นจะเป็นการใช้ไม้อย่างคุ้มค่ามากกว่า. ผลของการศึกษาวิจัยนี้มีแนวโน้มว่าปอสาทั้งต้นใช้ผลิตเยื่อเคมีได้. การศึกษาวิจัยขั้นตอนต่อไปเพื่อใช้ประโยชน์ปอสาในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษสมควรจะได้กระทำอย่างยิ่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1983/651
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1983/651-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1983/651-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300