การศึกษาการใช้ประโยชน์ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย: การศึกษาการใช้ประโยชน์ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย เพื่อการผลิตแคลเซียมคาร์บอเนต = Utilization of carbon dioxide for producing calcium carbonate / Silpachai Arunyanak...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Arunyanak, Silpachai | Cheosakul, Ubolsri | Darongsuwan, Aroonsri | Mata, Permsuk | Nutalaya, Kesara | Pornpruttipongsuk, Narongsak | Prasertphong, Booncherd | Sriwanawit, Jit | Sthapitanonda, Kannika | Thakunmahachai, Boonchai | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 29-16ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 99 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาการใช้ประโยชน์ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย: การศึกษาการใช้ประโยชน์ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย เพื่อการผลิตแคลเซียมคาร์บอเนตหัวเรื่อง: Calcium carbonate | Carbon dioxide | Carbonation process | ปิโตรเลียมสาระสังเขป: Calcium carbonate is a chemical product yielded from carbonation process, the reaction between carbon dioxide and oxide or hydroxide of calcium. The experiment uses commercial calcium hydroxide and the mixed gas, composition of which is almost the same as that of carbon dioxide gas from Petroleum Authority of Thailand. The results show that the contamination in mixed gas has no significant effect on both process and quality of calcium carbonate. Most of product qualities are within the specification of standard no. TIS 402-1972, TIS 403-1972 and ISO 3262-1975 (E.). Inaddition, it is possbile to improve the qualities to meet all specifications of those standardsสาระสังเขป: However, results of economic analysis indicate that calcium carbonate production, by carbonation process, is not economical feasibility either using the mixed gas alone or as an additional carbon dioxide for calcium carbonate factory.สาระสังเขป: แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นผลิตภัณฑ์ทางเคมีชนิดหนึ่งที่ได้จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โดยใช้กระบวนการ Carbonation ในการผลิต. ก๊าซผสมที่มีสัดส่วนและองค์ประกอบใกล้เคียงกับก๊าซ CO2 ของ ปตท. สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตได้ โดยสิ่งเจือปนในก๊าซผสมไม่มีผลต่อกระบวนการผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑ์. จากการทดลองผลิตโดยใช้ปูนขาวในท้องตลาดและก๊าซผสมเป็นวัตถุดิบ ผลปรากฏว่า CaCO3 ที่ได้คุณภาพใกล้เคียงกับเกณฑ์กำหนดของ มอก. 402 และ 403-2525 และ ISO 3262-1975 (E). อย่างไรก็ตามมีความเป็นไปได้ในการปรับปรุงคุณภาพของ CaCO3 ให้อยู่ภายในเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานเหล่านี้.สาระสังเขป: จากผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า กระบวนการผลิต CaCO3 ด้วยวิธีการ Carbonation โดยใช้ CO2 จาก ปตท. เป็นวัตถุดิบเพียงแหล่งเดียว จะส่งผลให้ไม่คุ้มต่อการลงทุน ถึงแม้จะไม่คิดมูลค่า CO2 ก็ตาม. ในขณะเดียวกันก็ยังไม่มีลู่ทางที่จะนำก๊าซ CO2 ไปใช้ในกระบวนการผลิต CaCO3 ของโรงงานที่ดำเนินการผลิตอยู่ในปัจจุบัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300