การสำรวจปัญหาการกำจัดน้ำทิ้งของโรงงานทอผ้าพิษณุโลก = Treatment of wastewater from Phisanulok Textile Organization Factory / Sermpol Ratasuk, Chaiyuth Klinsukont, Preecha Ploypatarapinyo (CONFIDENTIAL)

โดย: Ratasuk, Sermpol
ผู้แต่งร่วม: Klinsukont, Chaiyuth | Ploypatarapinyo, Preecha | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 20-48ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 57 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การสำรวจปัญหาการกำจัดน้ำทิ้งของโรงงานทอผ้าพิษณุโลกหัวเรื่อง: Phisanulok Textile Organization Factory | Waste treatment | ระบบบำบัดน้ำเสีย | Waste waterสาระสังเขป: This report presents the results of study of wastewaters problems at Phisanulok Textile Organization Factory. A series of in-plant surveys was conducted to determine volume and characteristics of the process wastewaters. At full-scale production the total volume of wastewaters was estimated at about 3,460 m3/day. The combined wastewaters were strongly alkaline as indicated by high pH in the range between 9-12 and was relatively low in BOD with an average value of only 270 mg/1. The colour of the combined wastewaters was caused by wastes from dyeing operations. Therefore about 800 m3/d of the dyeing wastes must be separately treated for colour removal by chemical coagulation. The laboratory coagulation tests indicated optimum pH at 6 and optimum alum dosage of 200 mg/1. The colour was completely removed with 40% of BOD. The treated effluent would then be combined with the major colourless waste stream for removal of organic pollutants by biological methods. Two treatment alternative, i.e. Facultative Oxidation Ponds and Aerated Lagoons were studies. Economic comparison of the two alternatives pointed out that aerated lagoon was more appropriate. Based on the laboratory study this process of treatment could remove 70-90% of BOD within a retention period from 3-7 days.สาระสังเขป: รายงานฉบับนี้ เสนอผลการศึกษาเพื่อหาวิธีแก้ไขปัญหาการกำจัดน้ำทิ้งของโรงงานทอผ้าพิษณุโลก, องค์การทอผ้า, กระทรวงกลาโหม. จากผลของการสำรวจปริมาณและคุณลักษณะของน้ำทิ้ง สรุปได้ว่า จะมีน้ำทิ้งเกิดขึ้น 3,460 ม.3/วัน. น้ำทิ้งนี้มีคุณสมบัติเป็นด่างแก่โดยมีค่า pH 9-12, แต่ค่า BOD ไม่สูงนักเพียงเฉลี่ยประมาณ 270 มก./ล. ประมาณ 23% ของปริมาณน้ำทิ้งทั้งหมดเป็นน้ำทิ้งที่มีสีเข้มตามสีที่ใช้ย้อมผ้า. ในการกำจัดจึงจำเป็นต้องแยกน้ำทิ้งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ไม่มีสี 2,660 ม.3/วัน และส่วนที่มีสี 800 ม.3/วัน. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่า สีในน้ำทิ้งกำจัดได้โดยการปรับ pH ของน้ำทิ้งให้มีค่าเป็น 6 โดยใช้กรด H2SO4 ในปริมาณ 1.14 ก./ล., แล้วจึงตกตะกอนด้วยสารส้มในปริมาณเฉลี่ย 0.2 ก./ล. สีในน้ำทิ้งจะหมดไป; และค่า BOD ลดลงประมาณ 40%. สำหรับ BOD ในน้ำทิ้งนั้นกำจัดได้ง่ายด้วยวิธีชีววิทยา. การทดลองกำจัดด้วยการเติมอากาศสามารถกำจัด BOD ได้ถึง 70-93% ในช่วงเวลา 3-7 วัน. ผลการศึกษาทดลองทั้งหมดได้นำมาใช้ในการคำนวณออกแบบขั้นตันระบบกำจัดน้ำทิ้งที่มีสีด้วยขบวนการ Chemical Coagulation. ส่วนระบบกำจัด BOD ในน้ำทิ้งทั้งหมดได้เสนอแนะไว้ 2 ระบบ คือ : Facultative Oxidation Ponds แบะระบบ Aerated Lagoons. หากพิจารณาเฉพาะเงินลงทุนอย่างเดียวระบบ Aerated Lagoon ในกรณีนี้จะเหมาะสมที่สุด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300