การกำจัดน้ำทิ้งของโรงงานกระดาษศรีสยาม = Treatment of pulp mill wastewater from Siam Paper Mill / Sermpol Ratasuk, Chaiyuth Klinsukont (CONFIDENTIAL)

โดย: Ratasuk, Sermpol
ผู้แต่งร่วม: Klinsukont, Chaiyuth | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. C. no. 20-20ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1979 รายละเอียดตัวเล่ม: 34 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การกำจัดน้ำทิ้งของโรงงานกระดาษศรีสยามหัวเรื่อง: Paper mills | Siam Paper Mill | Waste treatment | Waste waterสาระสังเขป: In producing 10 tonnes per day of pulp from bagasse at Siam Paper Mill 8,400 m3/d of wastewater containing 650 kg/d of BOD were generated. This large volume of wastewater was treated in 3-series aerated lagoons having the capaoity of 6,000 m3, 10,000 m3 and 3,000 m3, respectively. The treatment system was overloaded and excessivo foaming was experienced during the aeration. This report presents the results of the study to upgrade the treatment plant through a combination of measures to reduce foaming, reduce wastewater volume, and to modify the process of treatment. The foaming problem was solved by changing the pulping process from soda process to alkaline sulphite process. The wastewater volume was reduced by installing a system of multiple-uses of water and close process controlin pulp washing. The wastewater volume was reduced to only 1,000 m3 3/d and the BOD load was reduced to only 270 kg/d. The process of treatment was converted from 3-series aerated lagoons to a system of 2 anaerobic lagoons followed by an activated sludge plant. The new system achieved 95% BOD reduction reducing the BOD from 2,700 mg/1 to 135 mg/1. A series of laboratory tests revealod that the final effluent could be furthor treated by chomical coagulation using alum and polyelectrolyte as coagulants. The BOD was reduced to 45 mg/1 and the colour of the effluent was reduced from black to pale yellow. However, the chemical treatment would cost 82,000 baht/d or about 82 baht/m3. It was confirmed that for this type of wastewater it was not possible to reduce the BOD to the Ministry of Industry's standard of 20 mg/1. Recommendations were given for upgrading the treatment plant to increase its capacity to 2,000 m3/d with a minimum amount of investment.สาระสังเขป: โรงงานกระดาษศรีสยาม ผลิตเยื่อกระดาษวันละ 10 ตัน โดยใช้ชานอ้อยเป็นวัตถุดิบ. น้ำทิ้งที่เกิดขึ้นจากการล้างเยื่อสูงถึง 8,400 ม.3/วัน, ปริมาณ BOD 650 กก./วัน ทำให้การกำจัดด้วยระบบบ่อเติมอากาศ 3 บ่อ ใช้ไม่ได้ผล เพราะบ่อมีขนาดเล็กเกินไป. บ่อที่ 1 มีปริมาตรเพียง 6,000 ม.3., บ่อที่ 2 ประมาณ 10,000 ม.3., และบ่อที่ 3 ประมาณ 3,000 ม.3 นอกจากนี้ยังเกิดฟองอย่างมากมายในระหว่างการเติมอากาศ. รายงานนี้เสนอผลการแก้ไขปรับปรุงระบบกำจัดโดยการแก้ปัญหาเรื่องฟอง, การลดปริมาณน้ำทิ้ง และการเปลี่ยนกระบวนการกำจัด. ปัญหาเรื่องฟองแก้ไขได้โดยการเปลี่ยนกระบวนการต้มเยื่อจากการใช้ขบวนการโซดาอย่างเดียวมาเป็นขวนการซัลไฟท์ที่ pH สูง. การใช้น้ำหมุนเวียนในการล้างเยื่อควบคู่กันกับการควบคุมการล้างเยื่อ สามารถลดปริมาณน้ำทิ้งเหลือเพียง 1,000 ม.3/วัน และปริมาณ BOD เหลือเพียง 270 กก./วัน. กระบวนการกำจัดเปลี่ยนจากระบบ่อเติมอากาศ . บ่อมาเป็นระบบบ่อหมัก 2 บ่อ ตามด้วยระบบ Activated Sludge ซึ่งสามารถกำจัด BOD ได้ทั้งหมดประมาณ 95%. น้ำทิ้งสุดท้ายมีค่า BOD ประมาณ 135 มก./ล. การที่จะลดค่า BOD ของน้ำทิ้งนี้ลงอีกจะต้องใช้วิธีเคมีโดยใช้สารส้ม และสาร Polyelectrolyte ซึ่งจะลดค่า BOD ลงได้อีกจนเหลือประมาณ 45 มก./ล. โดยน้ำทิ้งจะมีสีจางลงจากสีดำเป็นสีเหลืองอ่อน แต่จะต้องเสียค่าใช้จ่ายถึง 82,000 บาท/วัน หรือประมาณ 82 บาท/ม.3 การที่จะกำจัดน้ำทิ้งจนมีค่า BOD ต่ำกว่า 20 มก./ล. ตามมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรมจึงเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติ. ระบบกำจัดที่ใช้อยู่ในขณะนี้ สามารถแก้ไขดัดแปลงให้รับน้ำทิ้งเพิ่มขึ้นได้เป็น 2,000 ม.3/วัน โดยไม่ต้องลงทุนมากนัก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300