Training and demonstration of biofertilizer

โดย: Antarikanonda, Pongtep
ผู้แต่งร่วม: Hongsavinitkul, Thitiporn | Sinsawat, Sayam | Sriwaranand, Sukanya | Visutthipat, Rachain | Wechsukum, Tasanee | Yantasath, Kovith | ทัศนีย์ เวชสุกรรม | โกวิทย์ ยันตศาสตร์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สุกัญญา ศรีวรานันท์ | สยาม สินสวัสดิ์ | ธิติพร หงสวินิตกุล | พงศ์เทพ อันตะริกานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Tech. Tran. Proj. no.43-01/5 ; Rep. no.1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000 รายละเอียดตัวเล่ม: 120 p.หัวเรื่อง: Anabaena spp | Biofertilizers | Blue-green algae | Calothrix sp | Cylindrospermum sp | Fertilizers | Hapalosiphon sp | Nostoc sp | Scytonema sp | Technology transfer | Tolypothrix spสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The project on training and demonstration of biofertilizer were organized by Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) for farmers in 9 areas: Surin Province, Chiang Mai Province at Mae Taeng and Chai Prakan districts, Lampang Province, Ang Thong Province, Sakon Nakhon Province, Nakhon Ratchasima Province, Phayao Province and Uthai Thani Province. There were 2,700 participants in these trainings. This project was divided into 3 activities: 1. Training of farmers on appropriate technology in using algal biofertilizer, 2. Impact of algal biofertilizer on rice yield, and 3. Economic evaluation in rice field which were carried out in TISTR's experimental field at Techno Thani and farmer's rice fields in Pathum Thani Province and Sakon Nakhon Province. In these fields, demonstration was done with algal biofertilizer consisted of multi-strain of the following N -fixing blue green algae: Anabaena sp., Nostoc sp., Calothrix sp., Tolypothrix sp., Scytonema sp., Cylindrospermum sp. and Hapalosiphon sp. Their efficiency when applied solely and/or combined with chemical fertilizer (16-20-0 in Pathum Thani Province and 16-16-8 in Sakon Nakhon Province) were found to improve the grain yield of rice, variety Suphan Buri 1 and Chai Nat 1. The experiment was arranged in randomized complete block design with 6 treatments.สาระสังเขป: The result revealed that algal biofertilizer when applied solely 20 kg/rai significantly increased the grain yield of about 26.92 percent in Pathum Thani Province and 15.27 percent in Sakon Nakhon Province which was higher than that of rice field applying chemical fertilizer at 25 kg/rai (50 percent of recommended level). Moreover, biofertilizer application at 50 percent of recommended level of chemical fertilizer gave higher yield when compared to 100 percent application of chemical fertilizer at 50 kg/rai. Meanwhile, it also generated higher net benefit and returns, thus indicating the potential of algal biofertilizer in rice cultivation and possibility of reducing the use of chemical fertilizer in addition to increasing of productivity. Authors.Review: โครงการอบรมและสาธิตปุ๋ยชีวภาพ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประ-เทศไทย (วท.) ได้ดำเนินการอบรมใน 9 พื้นที่ คือ 1. อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์, 2.อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่, 3. อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง, 4. อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง, 5. อำเภออากาศ-อำนวย จังหวัดสกลนคร, 6. อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่, 7. อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา, 8. อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา และ 9. อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี, มีผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 2,700 คน โดยแบ่งกิจกรรมหลักออกเป็น 3 ส่วน คือ การจัดฝึกอบรมให้ความรู้การใช้ปุ๋ยชีวภาพให้กับเกษตรกร, จัดทำแปลงสาธิตการผลิตปุ๋ยชีวภาพในพื้นที่ของเกษตรกร และการประเมินผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในการใช้ปุ๋ยชีวภาพในแปลงนาสาธิต ซึ่งจัดทำที่แปลงทดลองของ วท. , แปลงนาของเกษตรกร จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสกลนคร, ซึ่งเป็นการศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพที่ผลิตจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวในสกุล Anabaena, Nostoc, Calothrix, Tolypothrix, Scytonema, Cylindrospermum และ Hapalosiphon ร่วมกับปุ๋ยเคมี 16-20-0 ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี และ 16-16-8 ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร โดยวางแผนการทดลองแบบ randomized complete block design ประกอบด้วย 6 กรรมวิธี.Review: จากผลการศึกษาทั้ง 6 กรรมวิธี พบว่า แปลงข้าวที่ได้รับปุ๋ยชีวภาพเพียงอย่างเดียวในอัตรา 20 กก./ไร่ ให้ผลผลิตเมล็ดข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.92 ในชุดดินรังสิต และร้อยละ 15.27 ในชุดดินสกลนคร ซึ่งสูงกว่าผลผลิตของแปลงข้าวที่ได้รับปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่งของอัตราที่แนะนำ (25 กก./ไร่). นอกจากนั้นยังพบว่า การใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีในอัตราครึ่งหนึ่งของอัตราที่แนะนำ ทำให้ผล-ผลิตสูงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตรา 50 กก./ไร่, ในขณะเดียวกันก็สามารถเพิ่มรายได้สุทธิ หรือผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยสูงกว่า. ดังนั้นจากข้อมูลที่ได้ศึกษาวิจัยทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้บางส่วน และมีผลต่อการยกระดับประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมี รวมไปถึงการเพิ่มผลผลิตในการปลูกข้าวให้มากขึ้น.. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2000/1110

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300