อบรมและสาธิตปุ๋ยชีวภาพ = training and demonstrating of biofertilizer / Pongtep Antarikanonda...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Amarit, Prasert | Antarikanonda, Pongtep | Hongsavinitkul, Thitiporn | Sinsawat, Sayam | Srivaranan, Sukanya | Visutthipat, Rachain | Wechsukum, Tasanee | Yantasath, Kovith | ทัศนีย์ เวชสุกรรม | โกวิทย์ ยันตศาสตร์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | สุกัญญา ศรีวรานันท์ | สยาม สินสวัสดิ์ | ธิติพร หงสวินิตกุล | ประเสริฐ อะมริต | พงศ์เทพ อันตะริกานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Tech. Tran. Proj. no. 40-02ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 รายละเอียดตัวเล่ม: 64 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: อบรมและสาธิตปุ๋ยชีวภาพหัวเรื่อง: Anabaena spp | Biofertilizers | Blue-green algae | Calothrix sp | Cylindrospermum sp | Fertilizers | Nostoc sp | Scytonema sp | Songkhla | Technology transfer | Tolypothrix spสาระสังเขป: The promotion of the use of algal biofertilizer was conducted at Singhanakhon District, Songkhla Province. The project was divided into three activities, namely: (1) farmers' training on appropriate technology of using algal biofertilizer, (2) impact of algal biofertilizer on rice yield, and (3) recommendations for producing algal inoculum by the farmers. The results revealed that all farmers (234 persons) were interested and would like to use it. In field demonstration, algal biofertilizer consisted of multi-strains of the following N -fixing blue-green algae; Anabaena sp., Nostoc sp., Calothrix sp., Cylindrospermum sp., Tolypothrix sp. and Scytonema sp. Their efficiency alone and/or combination with chemical fertilizer (20-10-5) was found to improve the grain yield of aromatic rice, variety KDML 105, in nine locations of farmers' fields at Lam Daeng (6) and Pak Ro (3) Subdistrict. The experiment was arranged in randomized complete block design with 6 treatments, using location as replication. The result revealed that algal biofertilizer, when applied alone at 20 kg/rai, significantly increased the grain yield of about 20 percent and equivalent to that of 25 kg of NPK/rai (50 percent of the recommended level of fertilizer). It also gave higher net benefit and returns than applying chemical fertilizer. When the rice plant received algal biofertilifer combined with 25 kg NPK/rai, the grain yield was equivalent to that of 50 kg NPK/rai. It also gave the highest net benefit and returns. Thus, this result of this experiment clearly indicates the importance and potentialities of algal biofertilizer in rice cultivation and the possibility of reducing the use of chemical fertilizer in addition to increasing net income. AuthorsReview: โครงการนี้ได้ดำเนินงานในอำเภอสิงหนคร, จังหวัดสงขลา โดยแบ่งการจัดการเป็น 3 ส่วนคือ การจัดฝึกอบรมความรู้การใช้ปุ๋ยชีวภาพให้แก่เกษตรกร, การจัดทำแปลงสังเกตการณ์ (สาธิต) การใช้ปุ๋ยชีวภาพในพื้นที่ของเกษตรกร, และการจัดทำแปลงเพาะเพิ่มปริมาณสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวเพื่อการผลิตปุ๋ยชีวภาพโดยเกษตรกร. หลังจากนั้นได้ทำการประเมินผล, ปรากฏว่าเกษตรกรที่เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 234 คน เข้าใจในหลักการ การใช้ และการผลิตปุ๋ยชีวภาพ. ส่วนการทำแปลงสาธิตนั้น เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพที่ผลิตจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวในสกุล Anabaena, Nostoc, Calothrix, Cylindrospermum, Tolypothrix และ Scytonema ร่วมกับปุ๋ยเคมี สูตร 20-10-5 ต่อผลผลิต ข้าวหอมมะลิ 105 ใน ไร่นาเกษตรกร ตำบลรำแดง จำนวน 6 แห่ง, และตำบลปากรอจำนวน 3 แห่ง โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized complete block design ประกอบด้วย 6 กรรมวิธี. Review: ผลปรากฏว่า แปลงข้าวที่ได้รับปุ๋ยชีวภาพอัตรา 20 กก./ไร่ ให้ผลผลิตเมล็ดข้าวเพิ่มขึ้น 22%, และให้ผลผลิตเทียบเท่ากับแปลงข้าวที่ได้รับปุ๋ยเคมี อัตราครึ่งหนึ่งของที่แนะนำ (25 กก./ไร่). ในขณะเดียวกันการใช้ปุ๋ยชีวภาพก็ให้ผลตอบแทนสูงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมี. เมื่อนำปุ๋ยชีวภาพมาใช้ร่วม กับปุ๋ยเคมีก็ยิ่งทำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นมากกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียว, ดังเช่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของที่แนะนำ ให้ผลผลิตข้าวเทียบเท่ากับการใช้ปุ๋ยสูงกว่าอัตราแนะนำ คือ 50 กก./ไร่, ในขณะเดียวกันก็เพิ่มรายได้สุทธิ หรือผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยสูงกว่า. ฉะนั้น การใช้ปุ๋ยชีวาภาพ จึงเป็นแนวปฏิบัติอันหนึ่งที่สามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้บางส่วน และมีผลให้ประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมีเพิ่มขึ้น, รวมไปถึงการเพิ่มรายได้ในการปลูกข้าวให้มากขึ้น. –ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300