ความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในประเทศไทย = toxicity of cyanobacterial blooms in Thailand / Aparat Mahakhant...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunpairojana, Vullapa | Atthasampunna, Poonsook | Kaya, Kunimitsu | Klungsupya, Prapaipat | Mahakhant, Aparat | Sano, Tomoharu | Watanabe, Makoto M. | ประไพภัทร คลังทรัพย์ | คูนิมิทซึ คายา | โทโมฮารุ ซาโน | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | มาโกโตะ เอ็ม วาตานาเบ | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | พูนศุข อัตถะสัมปุณณะ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: English ชื่อชุด: Grant (E) Res. Proj. no. 39-02/Subproj. no. 7 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1998 รายละเอียดตัวเล่ม: 52 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในประเทศไทยหัวเรื่อง: Algae | Bang Phra Reservoir | Bangkok | Biotic communities | Blue-green algae | Chiang Mai | Chon Buri | Cyanobacteria | Kaeng Krachan Dam | Lam Takhong Dam | Mae Kwang Dam | Microcystins | Microcystis aeruginosa | Nakhon Ratchasima | Phetchaburi | Toxicityสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The acute oral toxicity of crude cyanobacterial extract examined in male Wister rats showed mainly histopathological alterations of liver by oedema, degeneration and vessel congestion. The LD50 (administered intraperitoneally) of microcystin LR and microcystin RR in Swiss Albino mice were 70 and 760 ug/kg, respectively.สาระสังเขป: The results of water quality analysis showed that phosphate was an important element favouring toxic cyanobacterial blooms in Thailand. Authorsสาระสังเขป: Toxic cyanobacterial blooms in Thailand was investigated during February, 1996-April, 1997 in 5 aquatic ecosystems, Mae Kwang Dam in Chiang Mai; Lam Takhong Dam in Nakhon Ratchasima; Bang Phra Reservoir in Chon Buri; Kaeng Krachan Dam in Phetchaburi and a duck husbandry pond in Bangkok. The major cyanobacterial blooms taxa involving in each ecosystem was Microcystis aeruginosa which produced hepatotoxin, namely "microsystins". The microsystins content in the cell was detected in the range of 0.3-0.8 mg/g cell dry weight. The composition of these toxins were identified as microcystin RR, (Z)-microsystin RR, microsystin LR, (Z)-microcystin LR, microcystin YR, (Z)-microcystin YR, microcystin LA, microcystin AR, microcystin ThtyrR and a novel variant, microcystin LBu. The chemical structure of the novel microcystin LBu was elucidated from the cyanobacterial bloom sample collected from the duck husbandry pond.สาระสังเขป: ในการศึกษาค่า LD50 ของสารพิษ microcystin LR และ microcystin RR โดยฉีดเข้าช่องท้องของหนู Swiss Albino เพศผู้ พบว่ามีค่า LD50 เท่ากับ 70 และ 760 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม (น้ำหนักหนู) ตามลำดับ.สาระสังเขป: ได้ศึกษาการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว (blue-green algae, cyanobacteria) ที่ผลิตสารพิษระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2539 - เมษายน 2540 ในแหล่งน้ำของประเทศไทย จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ เขื่อนแม่กวง จังหวัดเชียงใหม่, เขื่อนลำตะคอง จังหวัดนครราชสีมา, อ่างเก็บน้ำบางพระ จังหวัดชลบุรี, เขื่อนแก่งกระจาย จังหวัดเพชรบุรี และสระน้ำเลี้ยงเป็ดหน้าเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร. พบว่าสาหร่ายที่ผลิตสารพิษสายพันธุ์ที่สำคัญ (dominant species) ในแหล่งน้ำทุกแห่งเป็นสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวชนิด Microcystis aeruginosa ซึ่งเป็นสารพิษต่อตับในกลุ่มของ "microcystins" โดยความเข้มข้นของสารพิษที่ผลิตขึ้นภายในเซล์อยู่ระหว่าง 0.3-0.8 มิลลิกรัมต่อกรัมเซลล์สาหร่ายแห้ง.สาระสังเขป: การทดลองความเป็นพิษเฉียบพลันของสารสกัดจากสาหร่ายโดยการกรอกทางปาก (acute oral toxicity) ในหนูขาวเพศผู้พันธุ์ Wistar พบว่า สารพิษก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของตับ คือเกิดการบวม, มีการขยายตัวและเกิดภาวะเลือดคั่งในเส้นเลือด และเกิดการตายของเซลล์ตับ.สาระสังเขป: ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำบ่งชี้ว่า ฟอสเฟตเป็นธาตุอาหารสำคัญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียวที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำของประเทศไทย.สาระสังเขป: องค์ประกอบของสารพิษที่ผลิตได้แก่ microcystin RR, (Z)-microcystin RR, microcystin LR. (Z)-microcystin LR, microcystin YR. (Z)-microcystin YR, microcystin LA, microcystin AR, microcystin ThtyrR, และได้พบสารพิษชนิดใหม่ microcystin LBu จากตัวอย่างสระน้ำหน้าเรือนจำกลางคลองเปรม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1998/1020A
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1998/1020A-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300