การวิจัยการเก็บเกี่ยวเมล็ดสะเดาที่ให้ประสิทธิภาพสารออกฤทธิ์สูงสุด = the study on neem seed for highest efficiency of azadirachtin / Winai Supatanakul ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonfak, Chaiwat | Changniam, Suchittra | Kawilaves, Prayut | Kitkarnchareon, Charun | Rattanathawornkiti, Kanlaya | Sartpech, Chitta | Sittipol, Jaruwan | Supatanakul, Winai | Suwanagul, Anawat | Tanpanich, Sayan | Ungvichian, Ittirit | Vilairatana, Parinya | Visuttipitakul, Songkiat | Wattanakul, Jiraporn | กาวิละเวส, ประยุทธ์ | กิจการเจริญ, จรัล | สุจิตรา ช้างเนียม | สายันต์ ตันพานิช | ชัยวัฒน์ บุญฟัก | กัลยา รัตนถาวรกิติ | จิราภรณ์ วัฒนะกุล | ปริญญา วิไลรัตน์ | ทรงเกียรติ วิสุทธิพิทักษ์กุล | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | จารุวรรณ สิทธิพล | วินัย สุพัฒนกุล | อนวัช สุวรรณกุล | อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 41-03, Sub. proj. no.1 ; Rep. no. 1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001 รายละเอียดตัวเล่ม: 45 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การเก็บเกี่ยวเมล็ดสะเดาที่ให้ประสิทธิภาพสารออกฤทธิ์สูงสุดหัวเรื่อง: Azadirachta excelsa | Azadirachta indica siamensis | Azadirachta siamensis | Azadirachtin | Medicinal plants | Neem | Sa-dao | การเก็บเกี่ยว | สะเดา | อะซาดิแรคตินสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: There are 3 species of Neems in Thailand, 1. Azadirachta siamensis Valeton or A. indica A. Juss. var. siamensis Valeton is Sadao, Sadao Thai or Sadao ban; 2. A. indica A. Juss. is Sadao India, Quinine, or Sadao Togo; 3. A. excelsa Jacobs is Sadao Chang or Sadao Thiam in Thai. Generally, they exist in nature or they are planted for wood products and other purposes less pest control. Thai-Neems have more diversities of morphology and others in shape, size, colour, taste and azadirachtin contents. Flowering and fruiting periods are around October - January and February - April respectively, according to site and climatic conditions. Close spacing planting results in slow flowering or low fruit production. Young trees have low fruit productions while those of older than 10 years are variable from 20 - 100 kilograms of fresh fruits per tree, depending on the variety, harvesting and annual climate. Thai-Neems have good coppicing and pollarding after cutting, new branches or sprouts grow vertically. The branches or stock grafting grow well; however, the survival rates are low.Review: Azadirachtin contents in fresh ripening fruits are 2.08 - 5.11 mg/g depending on the variety. There are no significant difference in azadirachtin contents among the 8 stages of Thai-Neem from green mature to ripe fruits. However, the green mature kernels have higher azadirachtin content than the rest.Review: There are 3 groups of Neems with relatively similar indexes for DNA finger print study, which are Sadao India and Togo, Sadao Chang and Sadao Thai. AuthorsReview: ปริมาณสารอะซาดิแรคตินที่พบในผลสุกเหลืองจะไม่แน่นอนขึ้นกับต้นหรือสายพันธุ์ คือ 2.08 - 5.11 มิลลิกรัมต่อกรัมเนื้อในเมล็ดสด และพบว่าปริมาณสารออกฤทธิ์ของเนื้อในเมล็ดในผลแก่ถึงผลสุกระยะต่างๆ ( 8 ระยะ) ไม่มีความแตกต่างในทางสถิติ. ส่วนการเก็บผลแก่มาเร่งให้สุกที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีความแตกต่างของผลสุกและผลที่บ่ม, แต่ในเนื้อในเมล็ดจากผลแก่จะให้ปริมาณสารที่สูงกว่า. ส่วนการเก็บวัตถุดิบในรูป เมล็ด และเนื้อในเมล็ดแห้ง จะมีปริมาณสารออกฤทธิ์สูงกว่าในรูปผลแห้ง.Review: สะเดาในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ Azadirachta siamensis Valeton หรือ A. indica A. Juss. var. siamensis Valeton สะเดาไทยหรือสะเดาบ้าน, A. indica A. Juss. สะเดาอินเดียหรือควินิน โตโก และ A. excelsa Jacobs สะเดาช้างหรือสะเดาเทียม. ส่วนใหญ่ขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือปลูกเพื่อใช้เนื้อไม้หรือวัตถุประสงค์อื่นที่มิใช่เพื่อป้องกันกำจัดแมลง. จากการศึกษาพบว่า สะเดาไทยมีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่มีความหลากหลายสูง ทั้งรูปร่าง, ขนาด, สี, การออกดอกออกผล และ รสชาติ รวมทั้งปริมาณสารอะซาดิแรคติน. ออกดอกประมาณ ต.ค. - ก.พ. ผลแก่หรือสุกในช่วงเดือน ก.พ. - เม.ย. ขึ้นกับแหล่งที่พบหรือภูมิอากาศ. การปลูกชิดกันจะทำให้ออกดอกช้าและติดผลน้อย ต้นอายุน้อยให้ผลผลิตต่ำมาก. สะเดาไทยที่อายุมากกว่า 10 ปีให้ผลผลิตไม่แน่นอน อาจให้ผลสด 20 - 100 กิโลกรัมต่อต้น ขึ้นกับแต่ละต้นหรือสายพันธุ์, วิธีการเก็บ และภูมิอากาศแต่ละปี.Review: สะเดาไทยมีการแตกกิ่งได้ดี โดยออกในแนวตั้งตรง และสามารถเปลี่ยนยอดได้, ยอดพันธุ์สามารถเจริญเชื่อมต่อกับกิ่งหรือต้นตอได้ดี แต่มีเปอร์เซ็นต์รอดไม่สูง.Review: สำหรับการศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอของสะเดาที่ศึกษาแบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ สะเดาอินเดีย และโตโก, สะเดาช้าง และกลุ่มสะเดาไทย ส่วนในสะเดาไทยพบว่ามีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 79 - 94 %.-ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2001/1147
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2001/1147-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300