การผลิตไขมันจากเมล็ดเงาะและศึกษาการใช้ประโยชน์ = the production of rambutan tallow and a study of its utilization / Sunanta Ramanvongse, Sumalai Srikumlaithong, Supatra Munsakul

โดย: Ramanvongse, Sunanta
ผู้แต่งร่วม: Munsakul, Supatra | Srikumlaithong, Sumalai | สุภัทรา มั่นสกุล | สุนันทา รามัญวงศ์ | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Misc. Invest. no. 21-06 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 15 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตไขมันจากเมล็ดเงาะและศึกษาการใช้ประโยชน์หัวเรื่อง: Nephelium lappaceum | Oils and fats | Rambutan | Rambutan tallow | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Finally, the amount of rambutan fruits used in 13 rambutan canning facteries, out of 18 factories, is approximately 2,088 tonne/year which would yield about 170 tonne/year of the seeds. Rambutan tallow obtained will be 51 tonne/year or equivalent to approximately 357,000 baht/year. - Authors.สาระสังเขป: Rambutan (Nephelium lappaceum L.) fruits from the southern part of Thailand contain 7-8 per cent of seeds, 36-42 per cent of peels and the rest are flesh. The seeds give 25-30 per cent of crude fat by extraction with hexane. The crude fat after refining was subjected to the acute toxicity test on albino rats. The results show taht the fat can not be edible. It is therefore recommended that the fat will be used in other ways according to its properties. The appearance and some physical and chemical properties such as saponification value, iodine value, and titer are very similar to those of beef tallow. The amount of the fatty acids component are very much different. Arachidic acid (38 per cent) and oleic acid (35.6 per cent) are the major fatty acids in rambutan tallow. Arachidic acid may be used in the production of grease while oleic acid, the well-known fatty acid, may be used in the pharaceutical, cosmetic, soft soap, lubricant, detergent, drier, polish industries etc. Furthermore one can prepare stearic acid from oleic acid by hydrogenation. This acid is also commonly used in many types of industries such as the production of metallic soap, the production of rubber, and tooth-paste etc. Studies of the seed meal indicate 11.5 per cent of protein and 71 per cent of carbohydrate which may be preferably use as the substitution or in the combination with wheat flour since their properties are similar.สาระสังเขป: The demand for edible and non-edible vegetable fats and oils of today is steadily increasing. The raw materials like soya-beans, peanuts, cotton seeds, krabok seeds, rice-bran and copra therefore play a very important role in the vegetable seed oil industries, and are enormously insufficient. The aim of the research is the potential utilization of fats and oils derived from indigenous raw materials of the common and less known sources, such as rambutan seeds, krabok seeds, krabau seeds, rubber seeds etc., as the supplementary raw materials for the certain type of industries. This project will concern only the rambutan seed tallow. The seeds are the waste from rambutan canning industries.สาระสังเขป: เงาะ (Rambutan; Nephelium lappaceum L.) เป็นผลไม้ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในหมู่คนไทย, เนื้อเงาะนอกจากจะนิยมรับประทานสด ๆ แล้ว ยังนำไปผลิตเป็นเงาะกระป๋อง ; เงาะที่ใช้ผลิตเป็นเงาะจากทางใต้และจันทบุรี. สำหรับเมล็ดเงาะซึ่งเป็นของเหลือทิ้งจากโรงงานเหล่านี้ ส่วนใหญ่ยังมิได้นำไปใช้ประโยชน์, วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อจะศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของไขมันจากเมล็ดเงาะ เพื่อเป็นลู่ทางในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มีประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม.สาระสังเขป: ไขมันเมล็ดเงาะไม่ผ่านการทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute texicity test) ซึ่งทดสอบกับหนูถีบจักร, โดยอุ่นให้หลอมเหลวแล้วกรอกเข้าทางปาก และโดยวิธีฉีดเข้าทางช่องท้อง. สรุปได้ว่าไขมันจากเมล็ดเงาะควรใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมอื่นที่นอกเหนือจากการบริโภค, เช่น แยกกรด arachidic ออก ซึ่งกรดนี้อาจนำไปใช้ผสมผลิตพวกจารบี ในอุตสาหกรรมเคลือบเหล็ก, ผลิตเป็นพวก Metallic salts เพื่อใช้เป็นสาร coating สำหรับแก้วและฟิลม์, และใช้ผลิตสารพวก Fabric softener เป็นต้น. หรือแยกกรด oleic ออกมาเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมยา, อุตสาหกรรมเครื่องสำอางค์, สบู่อ่อน, น้ำมันหล่อลื่น, ผงซักฟอก, ดรายเออร์ (Drier) และผสมพวกยาขัด เป็นต้น. นอกจากนี้ อาจนำมาผลิตเป็นกรด Stearic ซึ่งมีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมผลิต metallic soap ซึ่งใช้มากในน้ำมันซักแห้ง, อุตสาหกรรมผลิตยาง, อุตสาหกรรมผลิตเม็ดยา และอุตสาหกรรมยาสีฟัน เป็นต้น.สาระสังเขป: การทดลองโดยใช้เงาะทางภาคใต้พบว่า เมล็ดเงาะมีอยู่ประมาณ 7-8% ของผลเงาะ, ส่วนที่เป็นเปลือกมีประมาณ 36-42% นอกนั้นเป็นเนื้อ. เมล็ดเงาะมีไขมันอยู่ประมาณ 25-30% ซึ่งได้จากการสกัดโดยใช้เฮกเซน. ไขมันดิบนำมารีไฟน์ตามกรรมวิธีรีไฟน์น้ำมันพืช, โดยการกำจัดกรดไขมันอิสระด้วยด่าง และฟอดสี จะได้ไขมันที่รีไฟน์แล้วมีสีเหลืองอ่อน. เมื่อนำไขมันนี้ไปทดสอบคุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมี พบว่ามีจุดหลอมเหลวค่อนข้างสูง, มีค่าไตเตอร์สูงถึง 54.8 - 55.5 องศาเซลเซียส, มีค่าไอโอดีนค่อนข้างต่ำ ซึ่งทำให้คุณสมบัติภายนอกคล้ายกับไขวัว; แต่ต่างกันที่ปริมาณกรดไขมันที่เป็นองค์ประกอบ, สำหรับกรดไขมันนั้นหาปริมาณโดยวิธี FLC ประกอบด้วยกรด Oleic และ Arachidic มีปริมาณสูงถึง 35.6 และ 38.2% ตามลำดับ, ซึ่งปริมาณของกรดทั้งสองชนิดนี้ทำให้ไขมันเมล็ดเงาะต่างจากไขมันหรือน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ. กรดตัวอื่น ๆ ที่มีอยู่เป็นปริมาณน้อยในไขมันเมล็ดเงาะ คือ กรด palmitic 6.4%, กรด stearic 8.5%, กรด linoleic 1.4% และกรด gadoleic 5.0%.สาระสังเขป: การศึกษาคุณสมบัติของกากเมล็ดเงาะที่สกัดไขมันออกแล้ว พบว่ามีคุณสมบัติใกล้เคียงกับแป้งสาลี คือ มีคาร์โบไฮเดรตสูงถึง 71%, โปรตีน 11.5% ซึ่งน่าจะมีลู่ทางศึกษาการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้แป้งสาลี.สาระสังเขป: ปริมาณเมล็ดเงาะที่สำรวจได้จาก 13 โรงงาน ในจำนวน 18 โรงงาน คือ 170 ตัน/ปี, ซึ่งจะให้ไขมัน 51 ตัน/ปี หรือเป็นมูลค่าประมาณ 357,000/ปี. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1978/529
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1978/529-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300