ลู่ทางการผลิตน้ำมันหอมระเหยในประเทศไทย = the potential of essential oil production in Thailand / Nitasna Pichitakul, Acharaporn Punruckvong

โดย: Pichitakul, Nitasna
ผู้แต่งร่วม: Punruckvong, Acharaporn | อัจฉราพร พันธุ์รักส์วงศ์ | นิทัศน์ พิชิตกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Pharmaceuticals and Natural Products Research Division=Pharmaceuticals and Natural Products Department> Essential Oils & Cosmetics Lab
Language: English ชื่อชุด: Appraisal Rep. no. 33ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1981 รายละเอียดตัวเล่ม: 19 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ลู่ทางการผลิตน้ำมันหอมระเหยในประเทศไทยหัวเรื่อง: Essences and essential oilsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A list of potential essential oil in Thailand is given as follows: forest products -- eucalyptus cajeput (Melaleuca leucadendron Limm.) and sapsua (Eupatorium odoratum Linn.); agricultural products -- patchouli (Pogostemon cablin Benth.), vetiver (Vetiveria zizanioides Stapf.), geranium (Pelagonium spp.), ylang-ylang (Carnanga odorata Baill.), holy-basil (Ocimum sanctum Linn.), kaphrao-chang (Ocimum gratissimum Linn.), phlai (Zingiber cassumunar Roxb.), krachai (Boesenbergia pandurata Schlechter.), Jasmin (Jasminum sambac) and kek huai (Chrysanthemum morifalium Ramat.); processing of available raw materials -- ginger (Zingiber officinale Roscoe.); by products of other industries -- lime (Citrus aurantifolia Swingle) and porcupine orange (Citrus hystrix D.C.).สาระสังเขป: In Thailand many kinds of raw-materials can be used for producing essential oil. The sources of raw materials both for established commercial oil or new oil of commerical interest may be classified as in the following groups: (1) forest products, (2) agricultural products, (3) processing of available raw materials, and (4) by-products of other industries.สาระสังเขป: Thailand used to produce citronella (Cymbopogon winterianus Jowitt.), lemongrass (Cymbopogon citratus D.C. Stapf.) and basil (Ocimum basilicum Linn.) oil. At present essential oil industries in Thailand include those egnaged in Japanese mint (Mentha arvensis var. piperascens) and turpentine (Pinus merkusii Jungh). Other yptes of essential oil industries are either being under investigation of further research or pilot-scale operation.สาระสังเขป: The demand to Thailand as well as world demand for essential oils have increased every year, espacially for those which cannot be replaced by synthetic oils. Thus, it can be said that there will be some be some opportunities for an essential oil industry in Thailand. - Authors.สาระสังเขป: ในประเทศไทยมีวัตถุดิบหลายชนิดที่นำมาผลิตน้ำมันหอมระเหยได้, แหล่งของวัสดุซึ่งให้น้ำมันหอมระเหยชนิดที่มีซื้อขายกันในตลาด และรวมทั้งน้ำมันใหม่ที่กำลังได้รับการสนใจในด้านการค้า อาจจะจำแนกเป็นหนวดได้คือ 1. ผลผลิตจากป่า 2. ผลผลิตจากการเกษตร 3. วัตถุดิบที่ได้ผ่านขบวนการ 4. ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมอื่น.สาระสังเขป: ความต้องการของน้ำมันหอมระเหยในประเทศไทย เช่นเดียวกับความต้องการในโลกที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำมันชนิดที่ไม่สามารถทดแทนได้ด้วยการสังเคราะห์. ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าอุตสาหกรรมน้ำมันหอมระเหยในประเทศไทยยังมีโอกาสอยู่บ้างเหมือนกัน. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: น้ำมันหอมระเหยที่เคยมีการผลิตในประเทศไทยได้แก่ น้ำมันจากตะไคร้หอม (Cymbopogon winterianus Jowitt.), ตะไคร้ (Cymbopogon citratus (D.C.) Stapf.) และ โหระพา (Ocimum basilicum Linn.). ปัจจุบันน้ำมันหอมระเหยที่ยังคงผลิตเป็นอุตสาหกรรมในประเทศไทย ได้แก่ น้ำมันมินต์ (Mentha arvensis var. piperascens) และน้ำมันสน (Pinus merkusii Jungh). สำหรับอุตสาหกรรมน้ำมันหอมระเหยชนิดอื่น ๆ ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาเพื่อทำการวิจัย รวมทั้งการทดลองผลิตในขั้นโรงงานนำทาง.สาระสังเขป: น้ำมันหอมระเหยที่มีลู่ทางในการค้าข่ายเหล่านี้ได้แก่ (1) ผลผลิตจากป่า: ยูคาลิปตัส, น้ำมันเขียว (Melaleuca leucodendron Linn.) และ สาบเสือ (Eupatorium odoratum Linn.), (2) จากวัตถุดิบที่ได้จากการเกษตร: แพดชูลี (Pogostemon cablin Benth.), แฝกหอม (Vetiveria zizanioides Stapf.), เจอราเนียม (Pelagonium spp.), กระดังงา (Carnanga odorata Baill.), กะเพราะ (Ocimum sanctum Linn.), กระเพราะช้าง (Ocimum gratissimum Linn.), ไพล (Zingiber cassumunar Roxb.), กระชาย (Boesenbergia pandurata Schlechter.), มะลิลา (Jasminum sambac Ait.) และ เก๊กฮวย (Chrysanthemum morifolium Ramat.), (3) จากวัตถุดิบที่ได้ผ่านขบวนการ: ขิง (Zingiber officinale Roscoe), (4) จากผลิตภัณฑ์ที่ได้จากอุตสาหกรรมอื่น: มะนาว (Citrus Aurantifolia Swingle) และ มะกรูด (Citrus hystrix D.C.).
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1981/691
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1981/691-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300