การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ ของผักบุ้งทะเลจากแหล่งธรรมชาติ = the comparative studies on properties of Ipomoea pes-caprae (L.) R.BR. obtained from natural sources and the cultivation on inland area / Pattama Soontornsaratune...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Banchonglikitkul, Chuleratana | Boonpleng, Ubolwan | Chuokul, Wongstit | Jarikasem, Siripen | Klungsupya, Prapaipat | Limpanussorn, Jakkrapong | Pongprayoon, Ubonwan | Punruckvong, Acharaporn | Sematong, Tuanta | Soontornsaratune, Pattama | Suntorntanasat, Taweesak | Temsiririrkkul, Rungravi | Wasuwat, Sasithorn | เต็มศิริฤกษ์กุล, รุ่งระวี | เตือนตา เสมาทอง | ประไพภัทร คลังทรัพย์ | ศิริเพ็ญ จริเกษม | ฉั่วกุล, วงศ์สถิตย์ | บรรจุลิขิตกุล, ชุลีรัตน์ | บุญเปล่ง, อุบลวรรณ | อุบลวรรณ พงศ์ประยูร | อัจฉราพร พันธุ์รักส์วงศ์ | จักรพงษ์ ลิมปนุสสรณ์ | ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร์ | ปัทมา สุนทรศารทูล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Pharmaceuticals and Natural Products Department
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 17/8 Rep. no.4ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1995 รายละเอียดตัวเล่ม: 27 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ ของผักบุ้งทะเลจากแหล่งธรรมชาติหัวเรื่อง: Chon Buri | Dermatitis | Ipomoea pes-caprae | Medicinal plants | Phakbungtha-le | Pharmacological studies | Prachuap Khiri Khanสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The properties of Ipomoea pes-caprae (L.) R. Br. obtained from two natural sources, the seashore of Chon Buri and Prachuap Khiri Khan, were compared with that obtained from TISTR Agricultural Experimental Station at Nakhon Ratchasima. The taxonomy and anatomy studies indicated the same structures and descriptions. The active fractions (IPA) extracted from the plants of all sources showed similar pharmacological efficacy in ethyl phenylpropiolate induced ear oedema in rats, neutralization of proteolytic effects of jellyfish venoms in vitro and inhibition of platelet aggregation induced by jellyfish venoms in vitro.สาระสังเขป: The results revealed important information for raw material development of a new drug for the treatment of dermatitis caused by poisonous jellyfishes. Authors.สาระสังเขป: การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของผักบุ้งทะเลที่เก็บจากแหล่งธรรมชาติ 2 แหล่งคือ ชายทะเล จังหวัดชลบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กับผักบุ้งทะเลในแปลงทดลองปลูกของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ที่จังหวัดนครราชสีมา พบว่าผักบุ้งทะเลทั้ง 3 แหล่ง มีลักษณะทางพฤกษอนุกรมวิธาน และกายวิภาคไม่แตกต่างกัน. สารสกัดแสดงฤทธิ์ (IPA) จากผักบุ้งทะเลทั้ง 3 แหล่ง มีประสิทธิผลทางเภสัชวิทยาใกล้เคียงกัน ได้แก่ ประสิทธิผลการลดการอักเสบ ซึ่งทดสอบด้วยวิธีการเหนี่ยวนำให้เกิดอาการบวมที่ใบหูของหนูขาว, ประสิทธิผลการป้องกันการทำลายโปรตีนของพิษแมงกะพรุนในหลอดทดลอง, และประสิทธิผลการป้องกันการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ซึ่งเหนี่ยวนำให้เกิดโดยพิษแมงกะพรุนในหลอดทดลอง.สาระสังเขป: ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาวัตถุดิบ อันจะเป็นประโยชน์ในอุตสา-หกรรมการผลิตยาชนิดใหม่เพื่อใช้รักษาอาการอักเสบของผิวหนังที่เกิดจากพิษแมงกะพรุนต่อไปในอนาคต. -ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2022-11-15 1 RP1995/981
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1995/981-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300