การควบคุมการเน่าเสียของผลไม้เมืองร้อนหลังการเก็บเกี่ยวโดยชีววิธี = the biological control of fungal spoilage of post harvest tropical fruits / Puangpen Suyanandana...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonsong, Prasong | Chaivimol, Jittra | Chanchana, Tanwarat | Fungsin, Bundit | Somchai, Praphaisri | Suyanandana, Puangpen | Wannissorn, Bhusita | ธัญวรัตน์ จันทรชนะ | ชัยวิมล, จิตรา | ประสงค์ บุญส่ง | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ภูษิตา วรรณิสสร | ประไพศรี สมใจ | พวงเพ็ญ สูยะนันทน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 38-02/subproj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 ชื่อเรื่องอื่นๆ: การควบคุมการเน่าเสียของผลไม้เมืองร้อนหลังการเก็บเกี่ยวโดยชีววิธีหัวเรื่อง: Bacteria | Biological control | Fruit | Fungi | Postharvestสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: The analysis of type and composition of the biological active compound was done by using Thin Layer Chromatography, HPLC and Amino Acid Analyzer. The results showed that it was peptide in nature and composed of at least six large quantity amino acids and capable of precipitation by ethanol in acid condition. The ten-fold concentrated bioactive substance from the culture both of B.subtilis TISTR 1 was demonstrated to have partial abiligy in controlling the growth of test fungi in tomatoes and mangoes. -Authors.สาระสังเขป: The bacteria of the Bacilli group were screened for their abilities in producing biological active substances for controlling the growth of pathogenic of post harvest tropical fruits. Ten strains of fungi which were isolated from decayed fruits were used as test frungi. They were as followed Alternaria sp., Aspergillus sp., Collectotrichum sp., Corynespora sp., Curvularia sp., Dothiorella sp., Geotrichum sp., Phytophthora., Pestalotia sp., and Phomopsis sp., The total of 63 strains of Bacilli wrer obtained from TISTR Microbilogical Resources Centre as well as isolated from tree leaves, fermented food and air. After preliminary acreening by agar plate method, 22 strains of Bacilli were picked out. Final screening was done by comparing their abilities in producting biological active compound in shake flask culture with Difco Ttyptic Soy Broth medium (TSB). There were 12 strains of Bacilli showing high activities which completely prevent the growth of all the test fungi. Bacillus subtilis TISTR 1 was selected as a representative for further study due to its safe origin from fermented soybean. The best media for culturing B. subtilis TISTR 1 which yield high fungal controlling activity was TSB supplemented with yeast extract, monosodium-glutamate and asparagine. The next one was waste soy bean extract medium with the same supplementation. The large scale production of B. subtilis TISTR 1 was done in 6.6-litre fermentor with 3.5-litre working volume. The optimization of the parameter such as pH control, aeration, agitation, culture time, temperature and ability of the culture broth to control fungal growth were determined. The preparation of the culture both were membrane filtration and hear treatment at 120 degree celsius for 5 minutes. Both compounds had the same activity in controlling the growth of test fungi and heat stability.สาระสังเขป: ในการผลิตสารชีวภาพจาก B. subtilis TISTR 1 ทำการเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดน้ำในขวดแก้ว โดยทดลองสูตรอาหารต่างๆ ที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรต่างๆ พบว่า กากถั่วเหลือสกัดให้สารชีวภาพที่เป็นรองจากอาหารสำเร็จรูป supplemented Trypticase Soy Booth.สาระสังเขป: การเตรียมผลิตภัณฑ์สารชีวภาพทำได้ 2 วิธี คือ วิธีกรองผ่านแมมเบรนขนาด 0.45 ไมครอน ที่ฆ่าเชื้อแล้ว และวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที เมื่อนำไปทดสอบประสิทธิภาพได้ผลใกล้เคียงกัน, และสารชีวภาพเป็นสารชนิดที่ไม่เสื่อมสลายด้วยความร้อน. จากการศึกษาชนิดและองค์ประกอบของสารชีวภาพนี้ โดยวิธี Thin Layer Chromatography และ HPLC พบว่า เป็นสาร peptide. และจากการวิเคราะห์ด้วย Amino Acid Analyser พบว่า มี amino acid ที่มีปริมาณมากอย่างน้อย 6 ชนิด เป็นองค์ประกอบและสารชีวภาพสามารถตกตะกอนโดยเอทานอลได้ในสภาวะเป็นกรด.สาระสังเขป: การศึกษาประสิทธิภาพของสารชีวภาพเข้มข้นสิบเท่าในการควบคุมการเน่าเสียของผลไม้ พบว่า สามารถป้องกันการเติบโตของราในสภาวะธรรมชาติได้บางส่วนในมะเขือเทศและมะม่วง. - ผู้แต่งสาระสังเขป: ทำการขยายขนาดการผลิตสารชีวภาพในขนาดใหญ่ขึ้น โดยใช้ถังหมัก (fermentor) ขนาดความจุ 6.6 ลิตร. ศึกษาสภาวะเหมาะสมในการเพาะเลี้ยง B.subtilis TISTR 1 เช่น ความเป็นกรดด่าง, อัตราการให้อากาศ, อัตราใบกวน, ช่วงอายุการเก็บเกี่ยว, อุณหภูมิ เป็นต้น.สาระสังเขป: ทำการคัดเลือกแบคทีเรียกลุ่มบาซิลลัส (Bacillus) ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสารชีวภาพ มีฤทธิ์ต้านเชื้อรา. ใช้ราที่แยกจากผลไม้เป็นเชื้อราทดสอบจำนวน 10 สายพันธุ์ คือ Altermaria sp., Aspergillus sp., Collectotrichum sp., Corynespora sp., Curvularia sp., Dothiorella sp., Geotrichum sp., Phytophthora sp., Pestalotia sp. และ Phomopsis sp. ทำการคัดเลือกแบคทีเรียกลุ่มบาซิลลัสจากศูนย์เก็บรักษาและรวบรวมข้อมูลจุลินทรีย์ วท. และแยกจากใบไม้, อาหาร, อากาศ รวมทั้งสิ้น 63 สายพันธุ์, ได้แบคทีเรียที่ผลิตสารชีวภาพ 22 สายพันธุ์, นำมาคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเพาะเลี้ยงแบบน้ำ ได้ 12 สายพันธุ์. นำ B. subtilis TISTR 1 ซึ่งมี ประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย เพราะเป็นเชื้อแบคทีเรียแยกจากถั่วเน่าเป็นอาหารถั่วหมักพื้นเมืองภาคเหนือของไทยเป็นเชื้อแบคทีเรียวิจัยต่อไป.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1999/1057A
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1999/1057A-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300