พัฒนาผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการง่วงจากหมาก = antihypnotic activity of Areca catechu in rats / Taweesak Suntorntanasat...[et al.]

โดย: Suntorntanasat, Taweesak
ผู้แต่งร่วม: Ahmadi Pirshahid, Pattra | Kajsongkram, Tanwarat | Phoonsiri, Chantara | Sematong, Tuanta | Suntorntanasat, Taweesak | Tangstirapakdi, Sinn | Thisayakorn, Charus | Thisayakorn, Krittiya | เตือนตา เสมาทอง | ธัญวรัตน์ กาจสงคราม | สิน ตั้งสถิรภักดี | กฤติยา ทิสยากร | จรัส ทิสยากร | ฉันทรา พูนศิริ | ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร์ | ภัทรา อะหมะดี พีรซะหีด | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 41-12/Sub. no.2 ; Report no. 1 (CONFIDENTIAL(PA))ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001 รายละเอียดตัวเล่ม: 27 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: พัฒนาผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการง่วงจากหมากหัวเรื่อง: Antihypnotic activity | Areca seeds | Arecoline | Central nervous system | High pressure liquid chromatography | Medicinal plants | Phenobarbitalสาระสังเขป: Antihypnotic studies of the unripe and ripe areca seeds were performed. It was found that the crude chloroform extract of the unripe (CUAS) and the crude ethanol extract of the ripe (ERAS) significantly exhibited antihypnotic activities. Both extracts could counteract the depression of the central nervous system (CNS) by phenobarbital. Rats which were fed with both extracts showed longer on set and shorter duration time of sleeping, and there were greater percentage of the non-sleeping as compared to the control group. The motor activity test found that rats, fed with either extract, showed no deviated signs and symptoms which proved that the extracts had no affects on CNS. The CUAS fed group showed no drug withdrawal signs and symptoms which was similar to the control group, whereas the ERAS fed group and positive control group potentially showed the drug withdrawal signs and symptoms. By high pressure liquid chromatography technique, it was found that CUAS and ERAS contained 0.295 % and 0.0545 % of arecoline respectively. -Authors.Review: ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านอาการง่วงของสารสกัดหมากอ่อนและหมากแก่ พบว่าสารสกัดหยาบ คลอโรฟอร์ม (crude chloroform extract) ของหมากอ่อน (CUAS) และสารสกัดหยาบ เอทานอล(crude ethanol extract) ของหมากแก่ (ERAS) ให้ผลต้านอาการง่วงได้. สารสกัดทั้งสองชนิดสามารถต้านฤทธิ์ในการกดประสาทส่วนกลางของ ฟีโนบาร์บิทาลได้. หนูที่ได้รับสารสกัดหมากทั้งสองชนิดมีเวลาที่เริ่มหลับช้ากว่า, มีระยะเวลาในการนอนหลับสั้นกว่า และมีเปอร์เซ็นต์ของหนูที่ไม่หลับมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม. ผลทดสอบการเคลื่อนไหวและการทรงตัว พบว่าหนูที่ได้รับสารสกัดหมากทั้งสองชนิดไม่มีอาการผิดปกติ ซึ่งแสดงว่าสารสกัดหมากทั้งสองชนิดไม่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง. และเมื่อทดสอบอาการถอนยา พบว่าหนูที่ได้รับ CUAS ก่อให้เกิดอาการถอนยาใกล้เคียงกับกลุ่มควบคุม, และน้อยกว่ากลุ่มหนูที่ได้รับ ERAS, และกลุ่มที่ได้รับมอร์ฟีน ตามลำดับ. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารออกฤทธิ์ในหมาก โดยวิธี High Pressure Liquid Chromatography พบว่า CUAS และ ERAS มีปริมาณ อะเรโคลีน อยู่ร้อยละ 0.295 และร้อยละ 0.0545 ตามลำดับ. -ผู้แต่ง..
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300