การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเดกซ์โทรสแอนไฮดรัส: การออกแบบโรงงานผลิตเดกซ์โทรสแอนไฮดรัสและการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขั้นต้น = technology transfer production of dextroxe: process and plant design and prefeasibility study of the production of dextrose (anhydrous) from cassava / Food Industry Department, Thailand Institute of Scientific and Technological Research

Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 30-17ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 19 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Process and plant design and prefeasibility study of the production of dextrose (anhydrous) from cassava | การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเดกซ์โทรสแอนไฮดรัส | การออกแบบโรงงานผลิตเดกซ์โทรสแอนไฮดรัสและการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขั้นต้นหัวเรื่อง: Cassava | Dextrose powder | การผลิตเดกซ์โทรสแอนไฮดรัส | เดกซ์โทรสแอนไฮดรัสสาระสังเขป: Cassave roots which is an important economic agricultural produca in Thailand are generally processed into pellets, chips and starch in excess each year. Thus, the problem arose from the limited imports of the international market expecially EEC group since 1984. This affects growers, manufacturers and traders at large. This leads to the attempts in the diversifications of end-uses of cassava roots and/or cassava starch. Therefore, one type of the derived product, i.e. anhydrous dextrose (injection grade) aiming to substitute the imported ones had been studied and developed totally in complete R.D.E and I cycle.สาระสังเขป: Teh sensitivity analysis was studies to compare the sale price of dextrose which shows an increasing trend in the near future.สาระสังเขป: The main process can be derived to expand into production of other types of starch derivatives such as dextrose monohydrates and D-sorbitol with minimal additional investmentสาระสังเขป: The process had been successfully developed from laboratory scale into a semi-pilot scale at the capacity of 30-50 kilograms per batch providing design data and other processing parameters necessary for scale up design into industrial scale. Two alternative designs were conducted. The design of plan B at the capacity of about 2.8 tons of product per day requires a total capital investment of 37.12 million baht with an internal rate of return (IRR) of about 27.81% whereas plan D at the capacity of about 1.2 tons of product per day requires a total capital investment of 30.99 million baht with an internal rate of return of 10.73%. The investemnt of the latter design was trimmed down by cutting the production capacity in half for initial operation which could be expanded into full scale of 2.8 tons per day by adding certain equipment. Thus, the economy of scale will be reached in plan B.สาระสังเขป: This process and plant design utilizing most of local equipment and some of the TISTR's equipment design has been envisaged as a potential one and it is ready to be transferred in details to commercial operation.สาระสังเขป: การออกแบบกระบวนการผลิตเครื่องจักรและผังโรงงานเบื้องต้นนี้ มีศักยภาพและพร้อมที่จะดำเนินในขั้นละเอียดในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อตั้งโรงงานผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไป.สาระสังเขป: จากความสำเร็จในการทดลองวิจัยขั้นห้องปฏิบัติการได้นำไปสู่การทดลองหาข้อมูลที่จำเป็นต่าง ๆ ในขั้นกึ่งโรงงานนำทางระดับ 30-50 กก. ต่อการทดลอง ทำให้สามารถออกแบบโรงงานผลิตในระดับอุตสาหกรรมที่มีกำลังการผลิตเดกซโทรสแอนไฮดรัสชนิดฉีดเข้าเส้นโลหิตประมาณ 2.8 ตันต่อวัน สำหรับแบบ plan B ซึ่งจะต้องใช้เงินลงทุนรวมเป็นเงิน 37.12 ล้านบาท โดยได้รับผลตอบแทน IRR = 27.81% และแบบ plan D ที่กำลังการผลิตประมาณ 1.2 ตันต่อวัน ในกรณีที่มีงบประมาณจำกัด โดยใช้เงินลงทุนรวมลดลงเหลือ 30.99 ล้านบาท ซึ่งทำให้ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุน IRR = 10.73% อย่างไรก็ตาม ผลตอบแทนก็ยังสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำในปัจจุบัน ซึ่งให้เพียงร้อยละ 7. การออกแบบเครื่องจักรอุปกรณ์ในแบบ pland D สามารถที่จะขยายเพิ่มเติมในจุดต่าง ๆ ที่ได้เพื่อไว้จนครบในแบบ plan B ได้ถ้าหากมีความต้องการเพิ่มกำลังการผลิตจาก 1.2 ตันต่อวัน ขึ้นเป็น 2.8 ตันต่อวัน ในอนาคตอีกด้วย. นอกจากนี้เครื่องจักรเหล่านี้ยังเป็นฐานในการใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ต่อเนื่องกันไป เช่น dexitrose monohydrates, sorbitol เป็นต้น.สาระสังเขป: นอกจากนี้ยังวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจดูการเปลี่ยนแปลงของราคาขายซึ่งมีแนวโน้มค่อนข้างสูง ทำให้มีผลตอบแทนคุ้มค่ามากขึ้น.สาระสังเขป: มันสำปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งมีอัตราการผลิตในระดับสูง, แต่ตลาดใหญ่คือกลุ่มประเทศตลาดร่วมยุโรป (EEC) ได้จำกัดปริมาณการนำเข้าตั้งแต่ประมาณปี 2527 เป็นต้นมา อันมีผลกระทบต่อเกษตรกรของประเทศ. การทดลองผลิตเตกซโทรสแอนไฮดรัสจากแป้งมันสำปะหลังเป็นหนึ่งในโครงการวิจัยผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากมันสำปะหลังเพื่อแก้ปัญหามันสำปะหลังล้นตลาด รวมทั้งทดแทนการนำเข้าเดกซโทรสแอนไฮดรัสจากต่างประเทศ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300