อบรมและสาธิตทุเรียนดิบบดแห้ง = technology transfer on production and utilization of unripe durian powder / Suwanna Srisawas...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Bunyaphak, Poonnapha | Chatket, Inthrawut | Sithisam-ang, Damrongchai | Srinorakutara, Pornpattra | Srisawas, Suwanna | Suttivattanavet, Wannee | Tubnacok, Boonluck | อินทราวุธ ฉัตรเกษ | บุญลักษณ์ ทับนาโคก | ปุณณภา บุญยะภักดิ์ | พรภัทรา ศรีนรคุตร | สุวรรณา ศรีสวัสดิ์ | ดำรงชัย สิทธิสำอางค์ | วรรณี สุทธิวัฒนเวช | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Food Technology Department
Language: English ชื่อชุด: Tech. Tran. Proj. no. 42-02ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 รายละเอียดตัวเล่ม: 42 p.หัวเรื่อง: Durian | Durian flour | Fruit preservation | Mon Thong | Snacks | Technology transferสาระสังเขป: Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) had transferred the technical know-how on the production of durian powder from unripe "Mon Thong" variety, both mature and immature fruits, to agricultural housewife groups (AHGs) that have drying ovens and experiences in slicing durian flesh for making durian chips. A number of selected AHGs were chosen by the Chanthaburi Agricultural Extension Officer. The training on the production of durian powder was carried out once at the station of the selected AHGs which also supperted tools and materials. The participants attending this one-day training were members of the AHGs and the staff of the Chanthaburi Agricutlural Extension Office, totaling 23 persons. In addition to this one-day training on utilization of durian powder, making durian cream crusted pie was also arranged for the AHGs with a total of 13 attendants. An evaluation revealed that the trainees had high potential to produce durian powder at reasonable price orders. However, the trained AHGs could produce only dried durian slices of 30 kg per batch. Durian powder could not be produced due to the lack of grinding machine. At the beginning stage, TISTR offered to help the AHGs in grinding dried durian slices into powder, including packing and labeling. Starting from 25 May to 7 July 1999, the Thung Bencha AHG was able to sell a total of 50 kg of durian powder in a 100 g-pack at 25 baht each. Intensive advertisement of durian powder and its utilization on various mass media had been made to promote the sale of the Thung Bencha AHG's durian powder. A private enterprise has already placed an order of two tons. However, this amount is far from production capacity of a single AHG to handle. Therefore, TISTR and the Thailand Research Funds (TRF) have agreed to expand the project on production and utilization of durian powder to other AHGs in the Eastern part of Thailand in the next durian season of the year 2000. Authorsสาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้นำเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนดิบบดแห้ง, ซึ่งทำจากทุเรียนดิบพันธุ์หมอนทอง ทั้งชนิดแก่จัดและอ่อน, ถ่ายทอดให้กลุ่มแม่บ้านเกษตร (กบก.) ผู้ปลูกทุเรียนในภาคตะวันออก, ซึ่งมีตู้อบรมร้อน และเทคนิคการผ่า และหั่นเนื้อทุเรียนดิบ สำหรับทำทุเรียนทอดกรอบอยู่แล้ว, ทั้งนี้ทำการฝึกอบรม โดยใช้สถานที่และเครื่องมือ, ตลอดจนวัตถุดิบของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร. การคัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรได้รับคำแนะนำจากเกษตรจังหวัดจันทบุรี. วท. ได้ทำการฝึกอบรมการผลิตทุเรียนดิบบดแห้งให้กับสมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และเจ้าหน้าที่เคหกิจเกษตร 1 ครั้ง จำนวน 23 คน, และฝึกอบรมการใช้ประโยชน์ทุเรียนบดแห้ง โดยการทำพายร่วนไส้ครีมทุเรียน ให้กับสมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 1 ครั้ง จำนวน 13 คน. จากการประเมินผลการฝึกอบรม พบว่ากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรนี้มีศักยภาพในการผลิต. กล่าวคือ หากตลาดมีความต้องการ และราคาทุเรียนดิบบดแห้งเป็นที่ยอมรับได้, กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรจะสามารถผลิตทุเรียนดิบอบแห้งได้ ครั้งละประมาณ 30 กก. แต่กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ยังไม่มีเครื่องบด ซึ่งจำเป็นจะต้องดำเนินการจัดหาต่อไป. ในระยะเริ่มต้นนี้ วท. ได้ช่วยนำทุเรียนดิบที่อบแห้งโดยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรมาบดให้ที่ วท. รวมทั้งการบรรจุและติดฉลาก. ขณะนี้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทุ่งเบญจา ได้ผลิตทุเรียนดิบบดแห้งขาย ในระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม - 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2542 รวม 50 กก. โดยขายในราคาพิเศษ 25 บาทต่อ 100 กรัม. จากการประชาสัมพันธ์ ทั้งทางวิทยุ, โทรทัศน์, และหนังสือพิมพ์ ในเรื่องการผลิตและใช้ประโยชน์ทุเรียนดิบบดแห้ง. ทำให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทุ่งเบญจา สามารถขายทุเรียนดิบบดแห้งที่ผลิตได้ และมีผู้สนใจสั่งซื้อทุเรียนดิบบดแห้งจำนวน 2 ตัน. แต่กลุ่มแม่บ้านเพียงกลุ่มเดียวไม่สามารถผลิตทุเรียนดิบบดแห้งจำนวนดังกล่าวได้. ดังนั้น วท. และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จึงเห็นว่าควรขยายผลการผลิตทุเรียนดิบบดแห้ง เพื่อการใช้ประโยชน์ โดยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรในภาคตะวันออก, และจะดำเนินการในฤดูกาลทุเรียนปี 2543. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300