การใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการส่งออกทุเรียนและส้มโอ : การศึกษาขั้นต้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทุเรียนสดแช่เย็น = technology development for exporting durian and pummelo : preliminary study on chilling process of ready-to-serve durian / Wiboonkiet Moleeratanond...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anantruksakul, Pensiri | Chatket, Inthrawut | Jarayapun, Auchareeya | Moleeratanond, Wiboonkiet | Srinorakutara, Pornpattra | Suksangpleng, Sompong | Suyanandana, Puangpen | วิบูลย์เกียรติ โมฬีรตานนท์ | อัจฉรียา จารยะพันธุ์ | อินทราวุธ ฉัตรเกษ | พรภัทรา ปฏิทัศน์ | สมพงษ์ สุกแสงเปล่ง | พวงเพ็ญ สูยะนันทน์ | เพ็ญศิริ อนันต์รักสกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Food Industry Department Food Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-17/Sub. proj.3 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1990 รายละเอียดตัวเล่ม: 98 pชื่อเรื่องอื่นๆ: การใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการส่งออกทุเรียนและส้มโอ: การศึกษาขั้นต้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทุเรียนสดแช่เย็น | การพัฒนาวิธีการแช่เย็นทุเรียนสดเพื่อการส่งออก | การศึกษาขั้นต้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทุเรียนสดแช่เย็นหัวเรื่อง: Durian | Export Chilling process | Fruit preservation | Packagingสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The ready-to-consume type of fresh durian aril had been developed in order to solve existing problems that hamper fruit quality such as unriped or overriped whole fruits when reaching consumer and pungent odor of durian while transporting through air cargo. This process contributes to the reduction of freight cost by means of removing the heavy and spiny skeleton (carpels) of the fruits, extending shelf life and providing a ready-to-serve fruits as value added product for export.สาระสังเขป: Two varieties of durian which are normally used for exports, namely, "Chanee" and "Mon-Tong" were studied. The result indicates that close control of the respiration rate as well as gas and moisture transmission rate through packaging covered with transmission barrier, precooling of fruits, good sanitation, handling and control in the processing line and suitable type of primary and secondary packagings are of importance. The fruit aril packed in proper packaging and plastic film was futher kept in chill room at 2 degree, 4 degree and 8 degree celsius. It was found that the quality of fruit aril could be stored at least 48 days for Chanee variety and 30 days for Mon-Tong variety at 2 degree celsius under suitable conditions as compared to the fresh control without difference. Compiled information and data on physical and thermo-physical properties (e.g. size, shape, weight loss during storage, freezing point, specific heat and amount of CO build up), chemical analysis (e.g. moisture content, total sugar, reducing sugar and fat), microbial analysis, and sensory evaluation (e.g. overall acceptance, flavour, texture, odor and color). Simulation studies for transporting through air cargo using dry ice and condition similar to refrigerated container via sea were investigated. Types of packing both primary and secondary packaging in the form of corrugated fibreboard box stacking in chill room as well as recording temperature history during storage were conducted. Other information on refrigeration capacity and power requirements including test on southern durians were reported. These information would be useful for commercial scale operation for export purposes. Authorsสาระสังเขป: การทดลองวิจัยและพัฒนานี้ใช้ทุเรียนพันธุ์ชะนี และหมอนทอง เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ใช้ในการส่งออก. จากการทดลองควบคุมปริมาณการหายใจของเนื้อทุเรียน โดยบรรจุในภาชนะบรรจุที่มีฟิล์มพลาสติกที่เหมาะสมหุ้มห่อ, หรือภาชนะบรรจุอื่นๆ ซึ่งทำการลดอุณหภูมิล่วงหน้าโดยเร็ว และบรรจุในสภาพที่สะอาด, เพื่อป้องกันเชื้อจุลินทรีย์ จากนั้นเก็บรักษาโดยเปรียบเทียบที่อุณหภูมิ 2o, 4o และ 8o ซ. พบว่าจะสามารถเก็บทุเรียนพันธุ์ชะนีได้นาน 48 วัน ที่ 2o ซ. และ 30 วัน สำหรับพันธุ์หมอนทองที่ 2o ซ. โดยที่คุณภาพทางประสาทสัมผัสเป็นที่ยอมรับและไม่แตกต่างจากทุเรียนสด. คณะวิจัยและพัฒนายังได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านกายภาพ และ กายภาพความร้อน (เช่น รูปร่าง, ขนาด, น้ำหนักที่สูญเสียไประหว่างเก็บรักษา, จุดเยือกแข็ง,ความร้อนจำเพาะ และปริมาณ CO2 ที่เกิดขึ้น) ; ทางด้านเคมี (เช่น ปริมาณความชื้น, total sugar, reducing sugar และไขมัน); ทางด้านประสาทสัมผัส (เช่นการยอมรับทั้งหมด กลิ่นรส, เนื้อสัมผัส, กลิ่นและสี) และ ทางด้านจุลินทรีย์. นอกจากนี้ยังทำการศึกษาเพิ่มเติม โดยจำลองสภาวะการบรรจุทุเรียนในภาชนะบรรจุขั้นปฐมภูมิที่บรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูก ซึ่งตั้งเรียงไว้ในห้องเย็น เช่นเดียวกันกับการปฏิบัติในเชิงพาณิชย์, ทดลองสภาพจำลองในการขนส่งทางอากาศ โดยใช้น้ำแข็งแห้ง, และจำลองสภาพการขนส่งทางเรือ โดยให้มีลักษณะเดียวกับตู้คอนเทนเนอร์ขนส่งแบบ ห้องเย็น, รวมทั้งการทดลองรวบรวมข้อมูลทางด้านกำลังของเครื่องทำความเย็น และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้. การทดลองนี้ใช้ทุเรียนจากทางภาคใต้สำหรับการศึกษาคุณสมบัติเพื่อใช้เป็นข้อมูลแนวทางปฏิบัติในการส่งออก. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: การพัฒนาแช่เย็นทุเรียนสดเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสนับสนุนการส่งออกทุเรียนในรูปแบบสำเร็จรูปที่บริโภคได้ทันที ซึ่งเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า. นอกจากนี้ยังมีจุดประสงค์ในการแก้ไขปัญหาการส่งออกทุเรียนทั้งผล ซึ่งไปถึงมือผู้บริโภคในสภาพที่สุกงอมจนแฉะเกินไป หรือบางผลไม่สุกเลย, ลดปัญหาเรื่องกลิ่นทุเรียนในระหว่างขนส่งทางอากาศ, ลดต้นทุนในการขนส่ง โดยลดปริมาณน้ำหนักของเปลือกทุเรียน และยืดอายุการเก็บรักษา.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1990/854
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1990/854-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1990/854-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300