Technology development for exporting durian and pummleo: Survey of durian paste production = การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการส่งออกทุเรียนและส้มโอ: การสำรวจการผลิตทุเรียนกวน/ Suwanna Srisawad...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anantruksakul, Pensiri | Chatket, Inthrawut | Patitas, Pornpattra | Srisawas, Suwanna | อินทราวุธ ฉัตรเกษ | พรภัทรา ปฏิทัศน์ | สุวรรณา ศรีสวัสดิ์ | เพ็ญศิริ อนันต์รักสกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Food Industry Department Food Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-17 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 20 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Survey of durian paste production | การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการส่งออกทุเรียนและส้มโอ | การสำรวจการผลิตทุเรียนกวนหัวเรื่อง: Durian | Durian paste | Fruitสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Durian paste production in Thailand is a cottage industry. The production areas are in Southern and Eastern parts of Thailand. The moisture content of durian fresh that used for producing durian paste are 64.6 + 2.4 per cent. Besides the percentage on dry basis of fat, starch, alcoholic insoluble solid in durian fresh are equal to 9.8 + 2.1, 11.2 + 4, and 37.5 + 5.1 respectively. Time required for cooking durian paste which has initial weight of 11.3 kg is 1 hour and 32 minutes which consists of come up time from 30-100 degree celsius about 17 minutes and evaporating period about 86 minutes. The production cost of during paste in Southern and Eastern part of Thailand are 59.80-67.40 and 45.0 baht per kg, respectively. The durian paste that packed in rectangular tin can with approximately 25 kg net weight has moisture content of 20.13 - 31.30 per eent and A = 0.76 - 0.79. In addition, durian paste also contains 48.0 - 57.0 per cent sucrose, 4.93 - 5.80 per cent fat, 8.05 - 12.93 per cent starch, and 14.07 - 26.67 per cent alcoholic insoluble solid (on dry basis). Authorสาระสังเขป: การผลิตทุเรียนกวนในประเทศไทยเป็นการผลิตในระดับอุตสาหกรรมในครัวเรือน และมีการผลิตมากในภาคใต้และภาคตะวันออก. ความชื้นของเนื้อทุเรียนสดที่นำมากวนเท่ากับ 64.4 + และ - 2.4%, นอกจากนี้ ไขมัน, แป้ง, ของแข็งที่ไม่ละลายในแอลกอฮอล์เท่ากับ 9.8 + และ - 2.1%, 11.2 + และ - 4%, และ 37.5 + และ - 5.1% โดยน้ำหนักแห้งตามลำดับ. การกวนทุเรียนใช้ฟืนและถ่านเป็นเชื้อเพลิง, ในการนี้สามารถระเหยน้ำโดยเฉลี่ย 64 + และ - 6 กรัมต่อนาที. เวลาที่ใช้ในการกวนทุเรียนที่มีน้ำหนักเริ่มต้น 11.3 กก. จะใช้เวลากวนประมาณ 1 ชั่วโมง 32 นาที, โดยแบ่งเวลากวนเป็น 2 ช่วง คือ เริ่มกวนจนกระทั่งเดือดประมาณ 17 นาที และเวลาระเหยน้ำ 86 นาที. สำหรับต้นทุนในการผลิตทุเรียนกวนทางภาคใต้คือ ประมาณ 59.8 - 67.4 บาท ต่อ กก., ส่วนทางภาคตะวันออก ประมาณ 45 บาทต่อ กก. ทุเรียนกวนที่บรรจุปี๊บซึ่งมีน้ำหนักสุทธิประมาณ 25 กก. นี้ มีความชื้น 20.13 - 31.30%, และ A = 0.76 - 0.79 อีกทั้งมีปริมาณซูโครส 48.0 - 57.0%, ไขมัน 4.93 - 5.80%, แป้ง 8.05 - 12.93% และของแข็งที่ไม่ละลายในแอลกอฮอล์ 14.07 - 26.67% (โดยน้ำหนักแห้ง). - ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1988/808
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1988/808-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300