การสังเคราะห์อนุพันธ์ไคโตซานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับโลหะหนัก = synthesis of chitosan derivatives for enhancement of heavy metal adsorption / Sumalai Srikumlaithong, Paros Vicharnrathakan, Parichat Laixuthai

โดย: Srikumlaithong, Sumalai
ผู้แต่งร่วม: Laixuthai, Parichat | Vicharnrathakan, Pharos | พรศ วิจารณ์รัฐขันธ์ | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | ปาริชาติ หลายชูไทย | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Office of Project Management
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 39-01 Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1997 รายละเอียดตัวเล่ม: 11 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การสังเคราะห์อนุพันธ์ไคโตซานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับโลหะหนักหัวเรื่อง: Adsorption | Chitin | Chitosan | Heavy metal adsorption | Waste waterสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: ในการทดลองความเป็นกรดด่างของน้ำทิ้งที่ 4.0 และ 5.0 ให้ผลการดูดซับโลหะทั้ง 4 ชนิด ไม่แตกต่างกัน. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: From the experiment, pH of effluent at 4.0 and 5.0 had no effect on adsorption ability. Authorsสาระสังเขป: The application of chitosan produced as toxic-metal binding agents in effluent of electroplating plants was studied and compared to a standard grade of imported chitosan and two grades of imported derivatives. Chitosan produced adsorbed Cu , Ni , Zn in wastewater at pH 5 with ability of 81.29 percent, 17.87 percent and 18.85 percent respectively whereas imported chitosan (CTAI) adsorbed Cu , Ni and Zn 65.60 percent, 11.03 percent and 20.83 percent respectively. Two derivatives were synthesized by reacting with pyridoxal hydrochloride and mercaptosuccinic acid. The binding ability of Cu , Ni , Zn and Fe was enhanced significantly, especially the derivative from pyridoxal hydrochloride possessing highest efficiency. T2-PYR and CTAl-PYR adsorbed Cu 85.36 and 91.82 percent; Ni 35.74 and 46.46 percent, Zn 28.23 and 41.97 percent respectively.สาระสังเขป: ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของไคโตซานที่ผลิตได้ เป็นสารดูดซับโลหะหนักในน้ำทิ้งของ โรงงานชุบโลหะด้วยไฟฟ้า เปรียบเทียบกับไคโตซานและอนุพันธ์ไคโตซานที่นำเข้าจากต่างประเทศ. ไคโตซานที่ผลิตได้มีประสิทธิภาพในการดูดซับ Cu2+ ในน้ำทิ้งที่ความเป็นกรดด่าง 5 ได้สูงถึง 81.29%, แต่ดูดซับ Ni 2+ และ Zn2+ ได้สูงสุดเพียง 17.87% และ 18.85% ตามลำดับ. ส่วนไคโตซานที่นำเข้าจากต่างประเทศ (CTAI) ดูด Cu2+, Ni2+ และ Zn2+ 65.60%, 11.03% และ 20.83% ตามลำดับ. อนุพันธุ์ไคโตซาน 2 ชนิด ที่สังเคราะห์จากการทำปฏิกิริยากับ pyridoxal hydrochloride และจาก mercaptosuccinic acid ให้ผลการดูดซับอิออนของโลหะ Cu2+, Ni2+ Zn2+ และ Fe2+ เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอนุพันธ์จาก pyriodoxal hydrochloride มีการดูดซับสูงที่สุด T2-PYR และ CTAI-PYR ดูดซับ Cu2+ 85.36 และ 91.82%, Ni2+ 35.74 และ 46.46%, Zn2+ 28.23 และ 41.97% ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1997/1010
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1997/1010-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300