การสำรวจสภาวะการณ์อุตสาหกรรมเกลือบริโภคในประเทศ = survey the status of edible salt industry in Thailand / Kesara Nutalaya...[et al.]

โดย: Nutalaya, Kesara
ผู้แต่งร่วม: Chaiwattananont, Rungthip | Earthayapan, Manus | Khunasopa, Chaiwat | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 29-09 Rep. no. 1 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1986 รายละเอียดตัวเล่ม: 90 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การสำรวจสภาวะการณ์อุตสาหกรรมเกลือบริโภคในประเทศหัวเรื่อง: Salt | Salt industryสาระสังเขป: Edible salt in Thailand is mainly produced from sea water, and can be divided into four categories according to Thailand Industrial Standards as refined salt, table salt, salt tablet and cooking salt. At present, there are 30 salt factories in Thailand scattering in Bangkok and in salt producing areas such as Samut Sakhon, Samut Songkhram, Phetchaburi, etc. Most factories produce cooking salt from coarse grain salt by washing and grinding only. There are only a few factories which produce higher grade salt by copying and developing their own technology (evaporator, fluid bed dryer). Besides, there are 3 more factories which have recently been granted promotion from the Board of Investment to produce industrial salt including refined and table salt. These factories are expected to start their production in 1-2 years. During these few years, Thailand should produce enough refined salt to supply her demand of approximately 2,000 tons/year. Consequently, promotion in using more refined salt in food industry and process improvement to decrease production cost would increase the refined salt consumption both in the country and for export.สาระสังเขป: Salt industry especially solar salt is recommended to be further promoted by Thai government. More researches and activities are needed to increase its productivity.สาระสังเขป: เกลือบริโภคในประเทศส่วนใหญ่ผลิตจากเกลือทะเล. ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของไทย แบ่งเกลือบริโภคเป็น 4 ประเภทคือ เกลือบริสุทธิ์, เกลือโต๊ะ, เกลืออัดเม็ด และเกลือปรุงอาหาร. ปัจจุบันในประเทศมีโรงงานผลิตเกลือ 30 โรง กระจายอยู่ในบริเวณ กทม. และแหล่งผลิตเกลือคือ สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, เพชรบุรี ฯลฯ. ส่วนใหญ่ผลิตเกลือปรุงอาหาร ซึ่งได้จากเกลือเม็ด และผ่านขั้นตอนการล้างและการป่นเท่านั้น. ส่วนเกลือคุณภาพสูงนั้นมีผลิตในโรงงานเพียง 2-3 โรงโดยใช้เทคโนโลยีซึ่งเลียนแบบและพัฒนาขั้นมาเองเป็นส่วนใหญ่ (เครื่องระเหยน้ำ, เครื่องอบแห้ง). นอกจากนี้ยังมีอีก 3 โรงงาน ได้รับอนุมัติส่งเสริมการผลิตเกลือรวมทั้งเกลือบริสุทธิ์และเกลือโต๊ะเมื่อเร็ว ๆนี้, โดยคาดว่าจะเริ่มดำเนินการผลิตได้ใน 1-2 ปีต่อไป. ในช่วงเวลาดังกล่าว ประเทศไทยจึงมีโรงงานผลิตเกลือบริสุทธิ์เพียงพอแก่การใช้ภายในประเทศ ซึ่งมีประมาณ 2,000 ตัน/ปี. อย่างไรก็ดี หากมีการส่งเสริมให้มีการใช้เกลือบริสุทธิ์ในอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น และมีการปรับปรุงกรรมวิธีเพื่อให้ต้นทุนการผลิตของเกลือให้ต่ำลง ปริมาณการใช้เกลือบริสุทธิ์ก็จะเพิ่มขึ้นทั้งในด้านการบริโภคภายในประเทศและการส่งออก.สาระสังเขป: อุตสาหกรรมเกลือโดยเฉพาะเกลือทะเลจากนาเกลือ ควรได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐบาลต่อไป. รวมถึงการจัดงานวิจัยและกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300