การสำรวจอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย = survey of the ceramic industry in Thailand / Ladawal Chotmongkol, Thongchai Sumpatchalit, Kannika Cherdchai

โดย: Chotimongkol, Ladawal
ผู้แต่งร่วม: Cherdchai, Kannika | Sumpatchalit, Thongchai | เฉิดฉาย, กรรณิการ์ | ลดาวัลย์ โชติมงคล | ธงชัย สัมปัชชลิต | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Metals and Materials Technology Department> Metallurgical & Ceramic Engineering Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 25-08 Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1983 รายละเอียดตัวเล่ม: 50 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การสำรวจอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทยหัวเรื่อง: Ceramic industriesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Since many small factories concern only their productions and have no knowledge of foreign market, free consultancy with government's experts is recommended. Authors.สาระสังเขป: Survey of the problems and the needs of ceramic industries in Thailand had been conducted in 1982 by TISTR's team of scientists, engineers and economists in order to find out the main requirement which would help TISTR set up project and consultancy in the future.สาระสังเขป: The main problems are the fluctuating quality and the sources of raw materials, the high tax charge and the lack of technical know-how which cause low quality products. Marketing is also in high competition among themselves with the same unsuitable pattern with that of the other countries.สาระสังเขป: The team sent out a seven-page questionnarie to one hundred selected compaines and factories, and thirty per cent of them had been visited on site.สาระสังเขป: ประเทศไทยรู้จักอุตสาหกรรมเซรามิกมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย และอุตสาหกรรมนี้ได้พัฒนามาจนเป็นผู้ผลิตเป็นอันดับ 2 ของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้รองมาจากประเทศญี่ปุ่น. เพื่อที่จะได้ทราบถึงสถานภาพของอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศเพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดข้อเสนอโครงการการดำเนินการวิจัยให้สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมนี้ต่อไป, วท. จึงได้ดำเนินการสำรวจอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทยขึ้นโดยการออกแบบสอบถามทั้งสิ้น 100 ชุด และส่งเจ้าหน้าที่ไปเยี่ยมชมโรงงานทุกประเภท 32 แห่ง. สรุปได้ว่าวัตถุดิบเป็นปัญหาใหญ่, คุณภาพไม่สม่ำเสมอ, แหล่งวัตถุดิบอยู่ในเขตทหารและแหล่งผู้ก่อการร้ายไม่สะดวกในการนำออกมาใช้ บางชนิดที่ไม่มีในประเทศต้องเสียภาษีสูงมาก. ในด้านเชื้อเพลิงมีปัญหาเรื่องราคาและการเปลี่ยนแปลงเชื้อเพลิงจากฟืนซึ่งหายากมาเป็นน้ำมันและก๊าซ ต้องใช้เทคโนโลยีใหม่. สำหรับเทคโนโลยีการผลิตและการตลาดอุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมในครอบครัวมีปัญหาที่จะให้รัฐช่วยเหลือ ควรจะพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกที่ยังไม่เกิดขึ้นในประเทศไทย เช่น วัสดุทนไฟที่ใช้ในเตาหลอมเหล็ก, ซีเมนต์, ตัวช่วยหลอมละลายในน้ำยาเคลือบ (frit) Chemical porcelain และอื่น ๆ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1983/640
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1983/640-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1983/640-3
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 4 RP1983/640-4

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300