การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำจืดและแนวทางแก้ไข : 6. การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายสีเขียว Microspora sp. = study on toxicity of cyanobacterial blooms and solution of the problems : 6. Toxicity study of green alga, Microspora sp. / Jakkrapong Limpanussorn ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Limpanussorn, Jakkrapong | Mahakhant, Aparat | Phatvej, Wipaporn | Sematong, Tuanta | เตือนตา เสมาทอง | วิภาพร พัฒน์เวช | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | จักรพงษ์ ลิมปนุสสรณ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no.43-10 Rep. no. 6ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001. รายละเอียดตัวเล่ม: 18 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำจืดและแนวทางแก้ไข : 6. การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายสีเขียว Microspora spหัวเรื่อง: Acute oral toxicity study | Cyanobacterial blooms | Green algae | Microspora sp | Skin irritation | Toxicityสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Acute oral toxicity study and primary skin irritation study of green alga, Microspora sp., were conducted according to EPA guidelines (1998). Acute oral toxicity study (Limit test), mice (ICR mice, outbred strain), 5 males and 5 females in each group, 8 weeks of age, were gavaged with suspension of the test sample at the dose of 2,000 mg/kg body weight, and control mice were dosed with distilled water at the equivolume as the experimental group. All mice were observed at 1/2, 1 and 3 hours after dosing and once daily for 14 days. Body weight gain of mice appeared in the same range as control mice. Four of five male mice showed red brown scale on the skin at the base of their tail and scrotum, while female mice showed normal appearance. All mice survived until termination of the study. None of them showed gross pathological changes at necropsy.สาระสังเขป: Skin sensitisation study was conducted according to Buehler method, OECD guidelines (1993). Guinea pigs (Dunkin Hartley strain), 10 males and 10 females in each group, were used. The animals were administered dermally with test sample for induction and challegne. 2,4-dinitrochlorobenzene (DNCB) was used as positive control. The results showed that the test sample caused no skin sensitisation which indicated by no erythema and no oedema lesions on the skin after challenge. Authorsสาระสังเขป: Three rabbits, New Zealand White hybrid strain, were employed in each experiment of primary skin and eye irritation study. Primary skin irritation study, 0.5 g of the test sample was applied on the shaved skin for 4 hours. The treated skin was assessed for the degree of erythema and oedema evidence at 1 hour, 24, 48 and 72 hours after removing the patch. The results showed that rabbit skin treated with the test sample showed no skin reaction representing non-irritating to the skin.Review: การศึกษาการก่อความระคายเคืองเบื้องต้นต่อผิวหนังของสาหร่ายสีเขียว Microspora sp. ใช้กระต่ายสีขาวพันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์ลูกผสม จำนวน 3 ตัว. ปิดแผ่นทดสอบมาตรฐาน (patch) ที่มีตัวอย่างทดสอบ 0.5 กรัม บนผิวหนังที่โกนขน และใช้น้ำกลั่นเป็นตัวอย่างควบคุม. เมื่อครบ 4 ชั่วโมง เอาแผ่นทดสอบมาตรฐานออก ตรวจดูอาการแดงและอาการบวมที่เวลา 1, 24, 48 และ 72 ชั่วโมงหลังเอาแผ่นทดสอบมาตรฐานออก. ผลการทดลอง พบว่าตัวอย่างทดสอบไม่ก่อความระคายเคืองต่อผิวหนัง.Review: การศึกษาการก่ออาการแพ้ต่อผิวหนังใช้วิธีของ Buehler (OECD 1993). ใช้หนูตะเภาพันธุ์ ดันคิน ฮาร์ทเลย์ (Dunkin Hartley strain) จำนวน 20 ตัวต่อกลุ่ม (เพศผู้ 10 ตัว และเพศเมีย 10 ตัว). ให้ตัวอย่างทดสอบทางผิวหนังเพื่อการชักนำอาการแพ้ (induction) และการกระตุ้นอาการแพ้ (challenge). ใช้ 2,4-dinitrochlorobenzene (DNCB) เป็นตัวควบคุมบวก (positive control). ผลการศึกษาพบว่า สาหร่ายสีเขียว Microspora sp. ไม่ก่ออาการแพ้ต่อผิวหนังซึ่งบ่งชี้ด้วยการไม่มีอาการแดงและไม่มีอาการบวมบนผิวหนังของหนูทดลองหลังกระตุ้นอาการแพ้. - ผู้แต่ง.Review: ทำการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลัน และการศึกษาการก่อความระคายเคืองเบื้องต้นต่อ ผิวหนังของสาหร่ายสีเขียว Microspora sp. ตามวิธีของ EPA guidelines (1998). การศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลัน (Limit test), ใช้หนูถีบจักรพันธุ์ ICR, out bred strain, อายุ 8 สัปดาห์ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยหนู เพศผู้ 5 ตัว และ เพศเมีย 5 ตัว. ป้อนตัวอย่างทดสอบในหนูกลุ่มทดลองในขนาด 2,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัว และป้อนน้ำกลั่นในปริมาตรเทียบเท่าในกลุ่มทดลองในหนูกลุ่มควบคุม. สังเกตอาการหนูที่เวลา ½ , 1 และ 3 ชั่วโมง หลังป้อนตัวอย่างทดสอบ และอย่างน้อยวันละครั้งทุกวันติดต่อกัน 14 วัน.Review: ผลการทดลอง หนูที่ได้รับสาหร่ายสีเขียว Microspora sp. มีอัตราการเจริญเติบโตไม่แตกต่างจากหนูในกลุ่มควบคุม. หนูเพศผู้ 4 ตัวใน 5 ตัว มีสะเก็ดแผลสีน้ำตาลแดงที่บริเวณโคนหาง และผิวหนังถุงอัณฑะ (scrotum). หนูทุกตัวมีชีวิตรอดจนสิ้นสุดการทดลอง. ผลการชันสูตรซาก (gross pathology) ตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติของ อวัยวะภายใน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2001/1158
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2001/1158-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300