การศึกษาความเป็นพิษของมะกล่ำตาหนูเพื่อนำมาผลิตเป็นสารเบื่อหนู = study on toxicity of Arbus precatorius as rodenticide / Taksin Artchawakon...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artchawakom, Taksin | Suasa-Ard, Kornkaew | Vatanakul, Jiraporn | Vilairatana, Parinya | Zungsontiporn, Siriporn | เสือสะอาด, กรแก้ว | ซึงสนธิพร, ศิริพร | จิราภรณ์ วัฒนะกุล | ปริญญา วิไลรัตน์ | ทักษิณ อาชวาคม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Grant (I) Res. Proj. no. 39-06 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000 รายละเอียดตัวเล่ม: 13 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเป็นพิษของมะกล่ำตาหนูเพื่อนำมาผลิตเป็นสารเบื่อหนูหัวเรื่อง: Abrus precatorius | Abrus seeds | Rats | Rattus norvegicus | Rodenticides | Toxicityสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Adult albino rats (Rattus norvegicus) were tested for oral toxicity with ground abrus seeds (Abrus precatorius). The seed was ground to powder and injected into the stomach of the rats at the rates of 150 and 200 mg/rat. Results obtained from the experiment showed that the 150 mg treatment was not lethal to the rats, but that at the 200 mg treatment, 50 percent were killed by loss of appetite, bleeding from the nose, anus, and eyes, congestion of ears, foot-pads, claws, hemorrhaging of the lungs, stomach and intestines, and 19.8 percent average body weight loss, leading to death within 2-21 days. Results from the experiment also showed that the average effective dose was 762.43 mg/kg of rat body weight.Review: On the other hand, abrus powder extracted with 70 percent ethanol and evaporated by vacuum until crystallization, then dissolved in distilled water and injected into the stomach at the rates of 500, 1,000, 1,500 mg/rat had no effect, the treated rats merely showing reduced consumption, and recovery after 2-5 days. From palatability test, the mixture of wheat flour, fish meal, dry ground coconut and fine bran at the rates of 8 : 0.5 : 0.5 : 0.5 by weight respectively were mixed with 3, 6, 9, 12 and 15 percent ground abrus seed. Results showed that they were not lethal to the rats. When treated with 50 percent ethanolic extract ground abrus seed at the rates of 5, 10 and 15 percent with the same mixed bait, only the poisoned bait of 15 percent extract ground abrus seed showed 20 percent lethality and 59.1 percent maximum body weight loss. AuthorsReview: การศึกษาความเป็นพิษทางปากของเมล็ดมะกล่ำ ได้ทดสอบกับหนูขาว Rattus norvegicus โดยการนำเมล็ดมะกล่ำตาหนูมาบด แล้วให้หนูกินโดยใช้ stomach tube ฉีดเข้าทางปากลงสู่กระเพาะอาหาร ในอัตรา 150 และ 200 มก. ต่อตัว. พบว่าอัตรา 150 มก. ไม่ทำให้หนูตาย แต่อัตรา 200 มก. พบว่าหนูตาย 50%. หนูที่ตายมีอาการ เบื่ออาหาร มีเลือดไหลทางจมูก, ทวารหนัก, มีเลือดออกบริเวณรอบๆ ดวงตา, มีรอยช้ำบริเวณใบหู, ฝ่าเท้า, เล็บเท้า, มีเลือดครั่งในปอด, กระเพาะอาหาร และลำไส้ น้ำหนักตัวลดลงเฉลี่ย 19.8% และตายใน 2-21 วัน. หนูได้กินมะกล่ำตาหนูเฉลี่ย 762.43 มก./กก. ของน้ำหนักตัว. การทดลองนำเมล็ดมะกล่ำตาหนูที่บดละเอียดแล้วนำมาสกัดด้วย เอทานอล 70%, แล้วละเหยเอทานอล ให้หนูในอัตรา 500, 1,000, 1,500 มก. ต่อตัว พบทุกอัตราดังไม่ทำให้หนูตาย. พบเพียงการกินอาหารลดลงหลังจากการให้สารใน 2-5 วันแรกแล้วอาการต่างๆ จะเป็นปกติในที่สุด. ผลการทดสอบ palatability test โดยใช้อาหารที่มีส่วนประกอบของแป้งสาลี, ปลาปุน, กากมะพร้าวคั่วแห้ง และรำละเอียด = 8 : 0.5 : 0.5 : 0.5 ผสมกับเมล็ดมะกล่ำ ตาหนูที่บด 3, 6, 9,12 และ 15% ตามลำดับ พบว่าไม่สามารถทำให้หนูตายได้. ส่วนอาหารที่ผสมกับสารสกัดจากเมล็ดมะกล่ำตาหนูเพื่อใช้เอทานอล 50% เป็นตัวสกัด ผสมในอาหาร 5, 10 และ 15%, พบว่าในเหยื่อพิษที่ผสมมะกล่ำตาหนู 15% ทำให้หนูตายเฉลี่ย 20% โดยหนูที่ตายมีน้ำหนักตัวลดลง 59.1%, ส่วนอัตราอื่นๆ ไม่ทำให้หนูตาย. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2000/1136
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2000/1136-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300