การศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของพืชพันธุ์ยักษ์ ภายหลังการเก็บเกี่ยว = study on physiology and chemical composition of postharvest gigantic varieties / Sodsri Neamprem...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Jamjumroon, Soravit | Neamprem, Sodsri | Pattanavibul, Siriphong | Phromtong, Chana | Sartpech, Chitta | Suwanagul, Anawat | สดศรี เนียมเปรม | สรวิศ แจ่มจำรูญ | ชนะ พรหมทอง | ศิริพงษ์ พัฒนวิบูลย์ | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | อนวัช สุวรรณกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 46-02, Sub. Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok: Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2005 รายละเอียดตัวเล่ม: ฌ, 71 p. : col. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของพืชพันธุ์ยักษ์ ภายหลังการเก็บเกี่ยวหัวเรื่อง: Banana | Chemical composition | Jackfruits | Lime | Mango | Plant physiology | Tamarinds | กล้วย | ขนุน | พืชพันธุ์ยักษ์ | มะขาม | มะนาว | มะม่วง | สรีรวิทยา (พืช) | องค์ประกอบทางเคมีสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Chemical composition of these tested fruits had varied among species and varieties. Total sugar content has found to be at least 1.1 times greater in almost gigantic species than commercial verieties. Consumer perception test by Hedonic scale method showed on significant in overall perception for all tested samples, however, some characteristics such as odor of gigantic lime and color of jackfruit flesh were found to be subjectively lower than commercial varieties. The study may help providing useful information leading to further variety improvement program for commercially purposes. - Authors.สาระสังเขป: Five tropical economic impact species of gigantic lime, banana, mango, tamarind and jackfruit were experimented against the commercial cultivars as the control. Mature ripe fruits were subjected to physiological properties, chemical compositions and tastes determination. The results showed the economic yield ratio (edible flesh) of gigantic banana (Nga chang), mango (Namdokmai-mun), and tamarind were 1.2, 1.1 and 1.4 times greater than their commercial varieties, respectively. Respiration and ethylene productions rate during storage were found to be 1.2 times lower than their commercial varieties. This finding may indicated its mechanism for improving shelf life of fresh fruit.สาระสังเขป: Thailand is one of the rich natural resources countries in Southeast Asia. The country has fertile soil, available water, forest, minerals, and tropical climate. This ideal environment is suitable for the vast number of biodiversity and plant genetic resources. Some plant species produce oversize fruit or other edible parts that were considered a gigantic varieties. This specific phenotype may be important to variety improvement program for major economic cultivars or dor use as exotic species. The gigantic species, however, were found to be unpopular for consumption or usage, therefore, some of them may be lost or close to extinction.สาระสังเขป: ขนาดและส่วนประกอบของผล ถึงแม้ว่าพืชพันธุ์ยักษ์จะมีขนาดของผลที่ใหญ่โตกว่าพืชปกติทั่วไปหลายเท่า แต่สัดส่วนของปริมาณเนื้อผลพบว่ามีน้อยกว่า ยกเว้น กล้วยงาช้าง, มะม่วงน้ำดอกไม้มันยักษ์ และมะขามเปรี้ยวยักษ์ มีปริมาณเนื้อผลมากกว่าเป็น 1.2, 1.1 และ 1.4 เท่าตามลำดับ, อัตราการหายใจและการผลิตแก๊สเอทิลีนของพืชพันธุ์ยักษ์ส่วนใหญ่ พบว่ามีค่าน้อยกว่าพืชพันธุ์ปกติตั้งแต่ 1.2 เท่า ขึ้นไป ซึ่งแสดงถึงแนวโน้มอายุการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้น, องค์ประกอบทางเคมีมีความแตกต่างกันในพืชแต่ละชนิด จากการวิเคราะห์พบว่า พืชพันธุ์ยักษ์ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำตาลทั้งหมดสูงกว่าพืชปกติ ตั้งแต่ 1.1 เท่า ขึ้นไป. การทดสอบผู้บริโภค โดยอาศัยการใช้สเกลความชอบ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ มีความชอบไม่แตกต่างกัน ยกเว้นบางคุณลักษณะคุณภาพ เช่น กลิ่นรสมะนาวของมะนาวยักษ์ และสีเนื้อขนุนพันธุ์ฟ้าถล่มที่ผู้บริโภคมีความชอบน้อยกว่าพันธุ์ปกติ. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรดิน น้ำ ป่าไม้ และแร่ธาตุ ทำให้มีความหลากหลายทางด้านพันธุกรรมพืช มีสายพันธุ์พืชหลายชนิดที่มีลักษณะเด่น ซึ่งมักถูกนำไปปรับปรุงพัฒนาให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น, ในประเทศไทยพบพืชที่มีขนาดของผลใหญ่โตกว่าปกติ หรือที่เรียกว่าพืชพันธุ์ยักษ์หลายชนิดที่มีลักษณะเด่น แต่จากการสืบค้นข้อมูลพบว่ามีน้อยมากโดยมากเป็นพืชท้องถิ่นซึ่งนับวันจะมีปริมาณน้อยลงเนื่องจากไม่เป็นที่นิยม, ดังนั้น จึงได้ทำการศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของพืชพันธุ์ยักษ์ เช่น มะนาวยักษ์, กล้วยยักษ์, มะม่วงยักษ์, มะขามเปรี้ยวยักษ์, และขนุนยักษ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพของผลิตผลได้ผลดังนี้:
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2005/1280
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2005/1280-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2005/1280-3
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 4 RP2005/1280-4

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300