การผลิตเยื่อจากใยปาล์มด้วยกรรมวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม = study on eco-friendly pulping process for oil palm fiber / Romanie Wungdheethum ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Lao-ubol, Supranee | Nagasawa, Chohachiro | Shinagawa, Shun-ichi | Somwongsa, Punthinee | Wungdheethum, Romanie | สุปราณี เหล่าอุบล | พันธ์ฐิณี สมวงศ์ษา | รมณีย์ หวังดีธรรม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: English ชื่อชุด: Grant (E) Res. Proj. no. 43-02 Rep. no. 1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2001. รายละเอียดตัวเล่ม: 27 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตเยื่อจากใยปาล์มด้วยกรรมวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหัวเรื่อง: Chlorine dioxide | Oil palm fiber | Pulping processสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A study on the preparation of pulps from oil palm fiber was carried out in laboratory. The oil palm fiber could be performed under atmospheric pressure by using a well-known bleaching agent chlorine dioxide as a main chemical to delignify the fiber. In this paper, the effect of pulping chemicals on pulp yield, kappa number, appearance and properties of the pulps were investigated. In addition, oil palm fiber pulped by soda pulping was also prepared to compare its yield, kappa number and the properties with those by chlorine dioxide.สาระสังเขป: At the same level of kappa number, the pulp from chlorine dioxide pulping were higher than those of soda, and the chlorine dioxide pulping method 1 was slightly higher than method 2.สาระสังเขป: Non-wood fibers are good raw materials for the production of pulp and paper in many countries whereas wood supply is limited or costly. These fibers are well suited for smaller mills in the developing countries but many non-wood mills encounter problems or failures which are usually related to economic, financial and technical issues.สาระสังเขป: The experimental results indicated that the suitable pulping method of oil palm fiber was chlorine dioxide pulping method 1 and the optimum pulping condition were : boiling the oil palm fiber step by step with 30 percent NaOH, then 15 percent NaClO and its molar equivalent oxalic acid, then 10 percent NaOH and finally with 10 percent NaClO and its molar equivalent oxalic acid. In each step, the amount of each chemical was based on the dried weight of oil palm fiber, boiling point time at 30 minutes and all liquor to sample ratios were 15 : 1.สาระสังเขป: The strength properties of pulp from chlorine dioxide pulping method 1 were better than pulping method 2. When comparing with soda pulping, the tensile strength, tearing strength and the bursting strength of chlorine dioxide pulping method 1 were higher than those of soda whereas the breaking strength and the folding endurance were lower. AuthorsReview: เยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีคลอรีนไดออกไซด์ ให้ผลผลิตที่สูงกว่าเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีโซดา ที่ค่าแคปปานัมเบอร์ระดับเดียวกัน และเยื่อคลอรีนไดออกไซ์ด์ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีที่ 1 ให้ผลผลิตที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีที่ 2.Review: เยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีคลอรีนไดออกไซด์วิธีที่ 1 มีคุณภาพดีกว่าเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีที่ 2; เมื่อเปรียบเทียบกับเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีโซดา พบว่า ค่าการต้านทานแรงดึง, การต้านทานแรงฉีกขาด และการต้านทานแรงดันทะลุของเยื่อคลอรีนไดออกไซด์ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีที่ 1 มีค่าสูงกว่าเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีโซดา ในขณะที่ค่าการต้านทานการหักพับมีค่าต่ำกว่า. -ผู้แต่ง.Review: เส้นใยจากพืชที่ไม่ใช่ไม้ นับเป็นวัตถุดิบที่ดีในการนำมาใช้ผลิตเยื่อกระดาษในหลายๆ ประเทศ ที่ไม้มีจำนวนจำกัดหรือราคาแพง. เส้นใยเหล่านี้มีความเหมาะสมกับโรงงานขนาดเล็กในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งมักประสบกับปัญหาหรือพบกับความล้มเหลวในการประกอบการอันเนื่องมาจากภาวะทางเศรษฐกิจ, การลงทุนและกรรมวิธีในการผลิต.Review: การศึกษาการผลิตเยื่อจากใยปาล์ม (oil palm fiber) ภายใต้ความดันบรรยากาศ โดยใช้สารฟอกที่รู้จักกันดีในนามคลอรีนไดออกไซด์เป็นสารเคมีหลัก. ได้ทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ โดยศึกษาถึงผลของสารเคมีที่มีต่อปริมาณผลผลิต, ค่าแคปปานัมเบอร์, ลักษณะและคุณสมบัติของเยื่อ. นอกเหนือจากนี้ ยังได้ทำการศึกษาปริมาณผลผลิต, ค่าแคปปานัมเบอร์, และคุณสมบัติของเยื่อที่ผลิตได้เปรียบเทียบกับเยื่อที่ผลิตด้วยกรรมวิธีโซดาอีกด้วย.Review: ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีผลิตเยื่อคลอรีนไดออกไซด์วิธีที่ 1 เป็นภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเยื่อจากใยปาล์ม ซึ่งเริ่มจากการต้มเส้นใยด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ปริมาณร้อยละ 30, นำเส้นใยที่ได้ต้มกับโซเดียมคลอไรด์ปริมาณร้อยละ 15 ร่วมกับกรดออกซาลิกในปริมาณที่สมมูลย์กับสารโซเดียมคลอไรด์ที่ใช้, ต้มเพื่อสกัดสารลิกนินในเยื่อออกด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ปริมาณร้อยละ 10, แล้วต้มในขั้นตอนสุดท้ายด้วยโซเดียมคลอไรด์ปริมาณร้อยละ 10, ร่วมกับกรดออกซาลิกในปริมาณที่สมมูลย์กับสารโซเดียมคลอไรด์. โดยในแต่ละขั้นตอน ปริมาณสารเคมี แต่ละชนิด คิดเป็นร้อยละของน้ำหนักเส้นใยอบแห้ง, เวลาในการต้ม ณ จุดเดือด 30 นาที และอัตราส่วนน้ำต้มเยื่อต่อเส้นใยอบแห้งเป็น 15 : 1.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2001/1172
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2001/1172-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300