การศึกษาปริมาณอะฟลาทอกซินในน้ำมันพืชธรรมชาติและการกำจัดสารพิษ = study on aflatoxin in crude vegetable oil and its detoxification / Sumalai Srikumlaithong, Supatra Munsakul

โดย: Srikumlaithong, Sumalai
ผู้แต่งร่วม: Munsakul, Supatra | สุภัทรา มั่นสกุล | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Chemical Industry Department> Oils & Fats Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 23-14 ; Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1982 รายละเอียดตัวเล่ม: 10 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาปริมาณอะฟลาทอกซินในน้ำมันพืชธรรมชาติและการกำจัดสารพิษหัวเรื่อง: Aflatoxins | Coconut oil | Coconuts | Detoxification | Oils and fats | Sesame | Sesame oilสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Aflatoxin was determined in 13 samples of crude coconut oil and 7 samples of crude sesame oil. Aflatoxin content in 2 samples of crude coconut oil was detected to be higher than 20 ppb. This level of aflatoxin was not found in crude sesame oil.สาระสังเขป: Detoxification of crude coconut oil was successfully achieved in reducing aflatoxin from 25 ppb to nil by stirring the oil with 0.3 per cent of Fuller's earth at the speed of 15 rpm for 15 minutes. After a 6-month storage, the treated and untreated oil showed no significant difference in acid and peroxide value. Two types of Fuller's earth namely, AAA and Galleon earth, were used for absorbing aflatoxin. Both types indicated no significant difference in reducing the toxin. The detoxification process was highly effective, not complicated and is suitable for small-size coconut oil plants. Authors.สาระสังเขป: ในการวิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซินในน้ำมันมะพร้าวและน้ำมันงาธรรมชาติ จำนวน 13 และ 7 ตัวอย่างตามลำดับนั้น พบว่ามีสารพิษอยู่ในน้ำมันมะพร้าวธรรมชาติสูงกว่า 20 ไมโครกรัม ต่อ 1 กิโลกรัมอยู่ 2 ตัวอย่าง, ส่วนในน้ำมันงาธรรมชาติไม่พบว่าสูงกว่าค่าที่กล่าวไว้.สาระสังเขป: การกำจัดสารพิษอะฟลาทอกซินในน้ำมันมะพร้าวธรรมชาติด้วยดินฟอกสี สามารถลดอะฟลาทอกซินได้หมดจาก 25 ไมโครกรัมต่อ 1 กิโลกรัม, โดยกวนดินฟอกสีประมาณ 0.3% โดยน้ำหนัก ที่ความเร็ว 150 รอบต่อนาที เป็นเวลา 15 นาที. เมื่อเปรียบเทียบค่าของกรดและค่าเปอร์ออกไซด์ของน้ำมันที่ผ่านกรรมวิธีแล้วกับที่ไม่ได้ผ่านกรรมวิธีโดยเก็บไว้เป็นระยะเวลา 6 เดือน ผลไม่แตกต่างกัน. ในการใช้ดินฟอกสีต่างชนิดกัน (AAA และตราเรือใบ) ดูดสารพิษ สามารถลดสารพิษได้ผลไม่แตกต่างกัน. กรรมวิธีนี้ใช้ได้ผลดีและเป็นวิธีที่ง่ายไม่ยุ่งยาก เหมาะสมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก.- ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1982/676
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1982/676-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300