การปลูกสาสำหรับอุตสาหกรรมกระดาษสา = study of Sa-cultivation for handmade papermaking / Somsak Chaimongkol, Samard Chitnawasarn, Naiyana Niyomwan

โดย: Chaimongkol, Somsak
ผู้แต่งร่วม: Chitnawasarn, Samard | Niyomwan, Naiyana | สมศักดิ์ ไชยมงคล | สามารถ จิตนาวสาร | นัยนา นิยมวัน | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agro-technology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 32-01ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1994 รายละเอียดตัวเล่ม: 30 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การปลูกสาสำหรับอุตสาหกรรมกระดาษสาหัวเรื่อง: Broussonetia papyrifera | Chiang Mai | Cultivation | Nakhon Pathom | Nakhon Ratchasima | Paper mulberry | Papermaking | Po-saสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: การศึกษาวิจัยนี้ได้เลือกสถานที่ทดลองสามแห่ง คือ แปลงทดลองของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา, แปลงทดลองของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม, และแปลงทดลองของสถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ สำนักงานเกษตรภาคเหนือ เชียงใหม่.สาระสังเขป: Propagation by seed which produced seedlings with vigorous and uniform roots was most suitable for commercial production of raw material. Spacing between rows showed no significant difference in the growth of Sa-plants. Suitable age of Sa-branches for use in handmade papermaking was one year old but first harvesting gave only low yield of dry weight bast fibre of 30.4 kg per rai. Effective cultivation still could not be concluded due to problem of soil quality, amount of rainfall and humidity. Authorsสาระสังเขป: The study was conducted at three experimental sites for growing Sa-papermulberry. The first site was TISTR experimental station at Pak Chong in Nakhon Ratchasima, the second site was KU experimental plot at Kamphaeng Saen in Nakhon Pathom and the last site was the experimental plot of Research Station and Training Centre of Northern Agricultural Office at Mae Hia in Chiang Mai.สาระสังเขป: การขยายพันธุ์สาด้วยการเพาะเมล็ดจะให้กล้าที่มีรากแข็งแรงสม่ำเสมอกัน เหมาะสำหรับการปลูกในเชิงการค้า. ระยะปลูกจากการทดลองไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นสา, และอายุของกิ่งสาที่เหมาะสมในการนำไปทำกระดาษสาคือ 1 ปี. ในการตัดกิ่งครั้งแรกได้ผลผลิตเส้นใยสาแห้งเพียง 30.4 กก.ต่อไร่. การศึกษาเรื่องการปลูกสาที่มีประสิทธิภาพยังไม่อาจสรุปได้ เนื่องจากมีปัญหาหลายประการ เช่น คุณภาพของดินในแปลงทดลอง, ปริมาณของน้ำฝนและความชื้นของอากาศ. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1994/939
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1994/939-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300