ศึกษาการเก็บรักษาชานอ้อยด้วยจุลินทรีย์ = studies on wet treatment of bagasse using microbial liquor / Poonsook Atthasampunna...[et al.]

โดย: Atthasampunna, Poonsook
ผู้แต่งร่วม: Chaowsangket, Montri | Daengsubha, Wanchern | Niyomwan, Naiyana | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division=Biotechnology Department> Fermentation Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 22-14 Rep. no. 1(CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1981 รายละเอียดตัวเล่ม: 24 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ศึกษาการเก็บรักษาชานอ้อยด้วยจุลินทรีย์หัวเรื่อง: Bagasse | Biotechnology | Microbial liquor | Storageสาระสังเขป: An experiment for the first methed has revealed that better quality of pulp was obtained when incubated the bagasse at 50 degree celsius using microbial liquor containing L. fermentum as against pulp derived at room temperature (30 degree celsius). As for second method after having stored for 6 months the production and quality of inbleached pulp was found to be relatively high when compared with bagasse kept under dried condition.สาระสังเขป: Pulping tests on bagasse stored for 6 months showed that a slight higher yield and bettor physical properties were obtained from the bagasse treated with liquor containing L. fermentum as compared with untreated bagasse.สาระสังเขป: Two methods on wet storage of bagasse with the application of liquer containing bacteria derived from the material itself were carried out on a laboratory scale. As for the first method, fresh bagasse was soaked in microbial liquor and then controlled the storage temperature. Regarding the second, fresh bagasse was plunged in microbial liquor, then drained the soaked material by lifting it up and stored for 6 month in open space. Two out of four strains of lactic acid bacteria isolated from bagasse were used in this study, namely Lactobacillus fermentum and Lactobacillus casci. L. fermentum seemed to give a desirable effect on wet storage of bagasse.สาระสังเขป: ในการศึกษาวิจัยนี้ การทดลองเก็บรักษาชานอ้อยด้วยจุลินทรีย์ซึ่งแยกได้จากตัวอย่างชานอ้อยเองมี 2 วิธีการด้วยกันคือ วิธีที่ 1 การแช่ชานอ้อยในน้ำซึ่งมีจุลินทรีย์รวมอยู่ด้วย และทำการควบคุมอุณหภูมิของการเก็บรักษา, และวิธีที่ 2 การจุ่มให้ชานอ้อยดูดน้ำซึ่งมีจุลินทรีย์เจริญอยู่ด้วยจนชุ่มน้ำดีแล้วจึงยกขึ้นให้น้ำส่วนเกินพอไหลออก แล้วเก็บรักษาไว้ในที่โล่งแจ้งเป็นเวลา 6 เดือน. ได้ทำการแยกจุลินทรีย์ประเภท Lactobacilli จากชานอ้อยได้ 4 สายพันธุ์ด้วยกัน และได้นำจุลินทรีย์ 2 สายพันธุ์คือ Lactobacillus casei และ Lactobillus fermentum มาทดลองใช้หมักชานอ้อยสด. หลังจากเก็บรักษาไว้ระยะเวลาหนึ่ง ได้นำชานอ้อยที่ผ่านการหมักด้วยจุลินทรีย์แล้วมาทดลองผลิตเยื่อกระดาษ พบว่าจุลินทรีย์ที่ใช้คือ Lactobacillus fermentum มีส่วนช่วยในการเก็บรักษาชานอ้อย. ผลการทดลองวิธีที่ 1 ชี้ว่าอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ซึ่งคาดว่าเป็นอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศขณะเก็บรักษาชานอ้อยในสภาวะปกติ และได้ทดลองใช้ในการเก็บรักษามีส่วนช่วยให้เกิดผลดี. สำหรับวิธีที่ 2 หลังจากเก็บรักษาไว้ 60 เดือนแล้วผลผลิตเยื่อไม่ฟอกและคุณภาพของเยื่อไม่ฟอกสูงกว่าเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บรักษาชานอ้อวยไว้ในสภาพแห้ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300