ผลผลิตและรายได้สุทธิของข้าวโพดและพืชถั่วในระบบพืชเดี่ยวและระยะการปลูกพืชร่วมในปี 2527 1. อิทธิพลของระยะระหว่างแถว = research and technology for rural development in Klong Muang land reform area : Yield and net income of maize and legumes under monocropping and intercropping systems in 1984 I. effect of row spacing / Songkiat Visuttipitakul, Parinya Vilairatana

โดย: Visuttipitakul, Songkiat
ผู้แต่งร่วม: Vilairatana, Parinya | ปริญญา วิไลรัตน์ | ทรงเกียรติ วิสุทธิพิทักษ์กุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agro-Technology Department Agricultural Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 26-25 Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1986 รายละเอียดตัวเล่ม: 14 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Yield and net income of maize and legumes under monocropping and intercropping systems in 1984 I. Effect of row spacing | ผลผลิตและรายได้สุทธิของข้าวโพดและพืชถั่วในระบบพืชเดี่ยวและระยะการปลูกพืชร่วมในปี 2527 1. อิทธิพลของระยะระหว่างแถวหัวเรื่อง: Continuous cropping | Corn | Cropping systems | Field crops | Intercropping | Klong Muang | Land reform | Legumes | Mung beans | Peanuts | Saraburi | Soybean | Spacingสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A study was conducted at a farmer's field in Saraburi Province to compare the yield and net income obtained from growing maize, soybean, groundnut and mungbean under both the monocropping and intercropping regimes. Row spacings of 150 and 225 cm were also employed in the study.สาระสังเขป: Experiment also revealed that soybean and groundnut grown in association with maize at 225 cm row spacing gave the highest net income of US$ 180/ha while growing sole soybean, maize and groundnut gave US$ 154, US$ 103 and US$ 81 respectively. Authors.สาระสังเขป: Results showed that the maize yield obtained by intercropping gave slightly lower than the monocropped maize treatment. On the otherhand, the monocropped soybean, groundnut and mungbean treatments produced significant higher yields than those intercropped with maize.สาระสังเขป: เมื่อพิจารณาถึงรายได้สุทธิ ปรากฏว่า การปลูกถั่วเหลืองหรือถั่วลิสงแซมระหว่างแถวข้าวโพดซึ่งใช้ระยะปลูก 225 ซม. ให้รายได้สุทธิสูงสุด เฉลี่ย 776 บาทต่อไร่. ในขณะที่ปลูกถั่วเหลือง, ถั่วลิสง หรือข้าวโพดเป็นพืชเดี่ยวให้รายได้สุทธิเพียง 694, 355 และ 447 บาทต่อไร่ตามลำดับ. - ผู้แต่งสาระสังเขป: ได้ทำการทดลองเปรียบเทียบผลผลิตและรายได้สุทธิจากการปลูกข้าวโพด, ถั่วเหลือง, ถั่วลิสง และ ถั่วเขียว เป็นพืชเดี่ยว กับปลูกพืชตระกูลถั่วดังกล่าวแซมระหว่างแถวข้าวโพด ซึ่งได้ใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 150 x 25 และ 225 x 25 ซม. ที่ไร่กสิกรหมู่บ้านคลองม่วงเหนือ, ตำบลลำพญากลาง, อำเภอมวกเหล็ก, จังหวัดสระบุรี.สาระสังเขป: ผลจากการทดลองปรากฏว่า ผลผลิตของข้าวโพดซึ่งแซมด้วยพืชตระกูลถั่วมีแนวโน้มต่ำกว่าการปลูกข้าวโพดเป็นพืชเดี่ยวเล็กน้อย. ในทางตรงกันข้าม ผลผลิตถั่วกลับมีความผันแปรกับจำนวนต้นที่ปลูก. กล่าวคือ การขยายแถวข้าวโพด หรือลดอัตราปลูกข้าวโพดให้น้อยลงแล้ว เพิ่มอัตราการปลูกถั่วเพิ่มขึ้น มีผลทำให้ผลผลิตถั่วสูงขึ้นกว่าการปลูกเป็นพืชเดี่ยว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1986/739
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1986/739-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300