การวิจัยและพัฒนาการใช้จุลินทรีย์กำจัดคราบน้ำมัน : ไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์จากแบคทีเรียเพื่อกำจัดคราบน้ำมัน = research and development of oil degradable bacteria : bacterial biosurfactant for oil-spill treatment / Sukdar Numchaiseewatana...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Meploy, Thawal | Numchaisewatana, Sakdida | Phapugrangkul, Pongsaton | Pinsem, Tam | Sirisattha, Sophon | Sri-Anand, Siravaris | Sukhumavasi, Jiraporn | ศักดิ์ดา นำชัยสี่วัฒนา | พงศธร ประภักรางกูล | แถม ปิ่นเสม | ถวัลย์ มีพลอย | ศรีอนันต์, ศิรวริษฐ์ | โสภณ สิริศรัทธา | จิราภรณ์ สุขุมาวาสี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 39-04ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 รายละเอียดตัวเล่ม: 16 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการใช้จุลินทรีย์กำจัดคราบน้ำมัน : ไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์จากแบคทีเรียเพื่อกำจัดคราบน้ำมันหัวเรื่อง: Bacteria | Biosurfactant | Glycolipid | Oil-spill treatment | Pseudomonas spสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The cultivation of bacteria Pseudomonas sp. TISTR 984 performed in 200 litres of liquid medium containing 1 percent biosurfactant (BS) was followed to 7-d of fermentation. It showed the maximal critical micelle concentration at the fourth day of cultivation and the BS production was directly correlated with the bacterial growth. The result for detection of the type of BS revealed that most of the BS is intracellular product. By using chromatography technique for separation of lipid and analysis of emulsification capacity, it was found that this type of BS is glycolipid. The detection of the saccharide type attached to the lipid molecule by using thin layer chromatography showed that it was rhamnose. It can be concluded that this BS is Rhamnolipid type. Besides, the stability or shelflife of BS had also been studied. - Authorsสาระสังเขป: ได้ทำการผลิตแบคทีเรีย Pseudomonas sp. TISTR 984 ปริมาณ 200 ลิตร ในถังหมักขนาด 300 ลิตร ในอาหารเหลว โดยใช้น้ำมันดิบ 1% เป็นวัตถุดิบ เพื่อศึกษากระบวนการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพหรือไอโอเซอร์แฟ็กแตนท์ (Biosurfactant) เป็นเวลา 7 วัน. ผลการทดลองพบว่ามีค่า Crtical Micelle Concentration สูงสุดที่เวลา 4 วัน และการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเจริฐเติบโตของแบคทีเรีย. ได้ทำการแยกเซลล์ของแบคทีเรียออกจากอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยใช้เครื่องเหวี่ยงแยก และนำทั้งส่วนน้ำและเนื้อเซลล์ไปตรวจหาปริมาณไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์ โดยใช้วิธีการสกัดลิปิด พบว่าไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในเซลล์ จึงได้นำส่วนเซลล์มาศึกษาชนิดของไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์ โดยใช้โครมาโตกราฟฟี่เทคนิคแยกลิปิดและตรวจหาว่า ไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์ มีอยู่ในลิปิคกลุ่มใด. ผลที่ได้พบว่าเฉพาะ "ไกลโคลิปิค" กลุ่มเดียวเท่านั้นที่มี EC activity. หลังจากนั้นได้ทำการทดสอบหาชนิดของน้ำตาลที่จับอยู่กับลิปิค โดยใช้ Thin layer chromatography technique พบว่าเป็นน้ำตาลแรมโนส (Rhamnose), จึงสามารถสรุปในขั้นต้นของการศึกษาระดับนี้ว่า ไปโอเซอร์แฟ็กแตนท์เป็น Rhamnolopid type. นอกจากนั้นยังได้ทดสอบความเสถียรของไบโอเซอร์แฟ็กแตนท์ด้วย. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1999/1071
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1999/1071-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300