การวิจัยและพัฒนาเชื้อเพลิงอุตสาหกรรมจากลิกไนต์ = research and development of industrial solid fuel from lignite / Energy Technology Department, Thailand Institute of Scientific and Technological Research

โดย: Thailand Institute of Scientific and Technological Research Energy Technology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 31-04 Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1995 รายละเอียดตัวเล่ม: 76 p. : ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาเชื้อเพลิงอุตสาหกรรมจากลิกไนต์หัวเรื่อง: Fuels | Lignite | Semi-cokeสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this project was to investigate technically and economically the feasibility of producing semi-coke of lignite, at the industrial level, by using local lignite as raw material. A pilot plant that consisted of technologically production process of 500 kg/hr each of jaw crusher, pulverizer and vibrating screen, 1,000 kg/batch twin retort carbonization furnace, 75 kg/batch mixer and a briquetting machine with production capacity of 500/briquetted ball coke a minute, had been arranged, designed and constructed. Through the operation, raw material-lignite was prepared by crushing, pulverizing, and screening into tiny size of approximately 4 mesh for further carbonization, briquetting and coking. It was found that the lignite semi-coke produced by the process was sound in properties, hardness and physical appearance as for fuel for metalworking industry when compared to that being imported. Apart from technological and production aspects, market demand survey and economical analysis had also been made and the result indicated that coal and products of coal-raw high heating value coal, coke and semi-coke, were in high demad for metalworking industry. However, the semi-coke of lignite produced by this pilot plant was incompatible to local market since the average production cost was as high as 21.17 baht/kg in comparison to 8-10.5 baht/kg of the imported one during the survey period in 1993. The major factors affected the cost were the energy input-diesel oil, binder-sticky asphalt and low effective furnace. In order to make the project feasible for market competition, the effectiveness of carbonization furnace must be improved and the energy input and binder must be replaced by other low cost resources with higher efficiency. Authorสาระสังเขป: วัตถุประสงค์ของโครงการนี้ เพื่อวิจัยพัฒนาและศึกษาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเทคนิคและเศรษฐศาสตร์การผลิตถ่านโค้กเทียมจากลิกไนต์ในระดับอุตสาหกรรม โดยใช้ลิกไนต์ในประเทศเป็นวัตถุดิบป้อนระบบ. ในการนี้ได้ออกแบบและจัดสร้างโรงงานต้นแบบ ซึ่งมีกระบวนการผลิตประกอบด้วยอุปกรณ์ครบครัน คือ เครื่องบดหยาบ, เครื่องบดละเอียด และเครื่องร่อนแต่ละตัวมีกำลังผลิตตัวละ 500 กก./ชั่วโมง, มีเตาคาร์โบไนเซชันชนิดรีทอร์ตคู่กำลังผลิต 1,000 กก./ครั้ง, เครื่องผสมกำลังการผลิต 75 กก./ครั้ง และเครื่องอัดก้อนกำลังการผลิต 500 ก้อน/นาที. ในการดำเนินการผลิตนั้น ลิกไนต์ซึ่งเป็นวัตถุดิบถูกนำเข้าผ่านกระบวนการเตรียมขนาดประกอบด้วยการบดหยาบ, บดละเอียด และร่อนให้ได้ก้อนขนาดเล็กๆ ประมาณ 4 mesh, จากนั้นถึงนำไปเข้ากระบวนการคาร์โบไนเซชัน. ถ่านสุกที่ได้นำไปผสมกับตัวประสานแล้วอัดก้อนและทำการอบให้เนื้อสารถ่านอัดก้อนคงรูป แล้วจึงนำไปเผาเป็นถ่านโค้ก. ผลปรากฏว่าถ่านโค้กเทียมจากลิกไนต์ที่ได้มีคุณสมบัติ, ความแข็ง และรูปลักษณ์ของก้อนเป็นที่น่าพอใจ เหมาะสำหรับที่จะใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะไม่ด้อยไปกว่าถ่านหินและผลิตภัณฑ์ถ่านหินที่นำเข้าจากต่างประเทศ โครงการนี้นอกจากจะวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีและด้านการผลิตแล้ว ยังได้ทำการสำรวจความต้องการของตลาดถ่านโค้กเทียมและวิเคราะห์ความคุ้มทุนเชิงเศรษฐศาสตร์ของการผลิตไว้ด้วย. พบว่าถ่านโค้กเทียมที่ผลิตได้ยังขาดความเป็นไปได้ในเชิงการแข่งขันในตลาดถ่านโค้กของประเทศ เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงถึง 21.17 บาท/กก. ในขณะที่ถ่านโค้กนำเข้าจากต่างประเทศ มีราคาเพียง 8-10.5 บาท/กก. เมื่อปี 2536 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ทำการสำรวจ. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาที่สำคัญคือ ค่าพลังงานในการผลิตและตัวประสาน เพื่อให้เนื้อถ่านสุกติดกันเป็นก้อน ได้แก่ น้ำมันดีเซล และยางมะตอย ซึ่งปัจจุบันมีราคาสูงอยู่แล้ว. ดังนั้น ถ้าหากจะให้ถ่านโค้กเทียมจากลิกไนต์มีราคาที่สามารถแข่งขันในตลาดได้ จะต้องปรับปรุงเตาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงและตัวประสานจากน้ำมันดีเซลและยางมะตอยไปใช้ สิ่งอื่นที่มีราคาถูกกว่าแทน. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1995/970
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1995/970-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300