การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยทางใบจากของเหลือใช้อุตสาหกรรมปลากระป๋อง = research and development of foliar fertilizer from fish canning industrial waste / Suriya Sassanarakkit...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chansong, Ratana | Gumarathi, Rujisak | Nalinanon, Sitthipong | Sassanarakkit, Suriya | Srikumlaithong, Sumalai | Suntorn, Napatsawan | Trangwacharakul, Srisak | รุจิศักดิ์ กุมารติ | รัตนา จันทร์ส่ง | ศรีศักดิ์ ตรังวัชรกุล | สิทธิพงศ์ นลินานนท์ | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | สุริยา สาสนรักกิจ | นภัสวรรณ สุนทร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 44-09 ; Rep. no. 3 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2004 รายละเอียดตัวเล่ม: 36 p. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยทางใบจากของเหลือใช้อุตสาหกรรมปลากระป๋องหัวเรื่อง: Fertilizers | Fish canning industry | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: The objective of this experiment is to utilize the fish canning industrial waste as foliar fertilizer. The fertilizer was prepared by the digestion of waste from several kinds of inorganic acid (HCl, H2SO4. H3PO4). The result showed that the hydrochloric acid concentration at 0.5%, ratio of fish waste : acid equal to 1:5, temperature 100oC and digestion time of 1.5 hour were suitable condition for waste digestion. Several kinds of chemical reagents such as Urea 100 g, NaH2PO4 20 g, KCl 67 g, Ca(NO3)2. 4H2O 35 g, CaCl. 2H2O 100 g and H3BO3 20 g, MgSO4 7H2O 10 g. were dissolved in one liter of the fertilizer. The application of 1% concentration of foliar fertilizer showed suitable result of Mung bean growth as well as its yield which is better than control (no application foliar fertilizer). - Authors.Review: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำของเหลือใช้จากอุตสาหกรรมปลากระป๋องมาผลิตเป็นปุ๋ยทางใบ ผลการทดลองพบว่าของเหลือใช้จากอุตสาหกรรมปลากระป๋อง ได้แก่ พุงปลาสามารถนำมาผลิตเป็นปุ๋ยทางใบ โดยการย่อยสลายด้วยกรดเกลือที่มีความเข้มข้นของกรด 0.5% ใช้สัดส่วนวัตถุดิบ : กรดเท่ากับ 1:5 ระยะเวลาการย่อย 1 ชั่วโมง 30 นาที ด้วยอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ได้ปริมาณกรดอะมิโนเท่ากับ 1.05 กรัม/100 มิลลิลิตร ซึ่งสารละลายที่ได้จำนวน 1 ลิตร จะถูกนำไปผสมกับธาตุอาหารพืช ได้แก่ Urea 100 กรัม, NaH2PO4 20 กรัม, KCl 67 กรัม, Ca(NO3)2. 4H2O 35 กรัม, CaCl .2H2O 100 กรัม และ H3BO3 20 กรัม, MgSO4 .7H2O 10 กรัม จะได้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยทางใบ ซึ่งจากการทดสอบประสิทธิภาพของปุ๋ยทางใบกับการเจริญเติบโตของถั่วเขียว พบว่าปุ๋ยทางใบในอัตรา 1% ส่งเสริมการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตดีกว่ากรรมวิธีควบคุม. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300