การพัฒนาระบบการจัดการน้ำเสียจากกระบวนการชุบโครเมียมเพื่อการนำน้ำและสารประกอบโครเมียมกลับมาใช้ใหม่ = recycle of chromium compound and water from chromium electroplating wastewater / Sawaeng Gerdpratoom...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chanonmuang, Nillapan | Gerdpratoom, Sawaeng | Imrat, Yongyuth | Phanawadee, Janejit | Srisaracam, Boonsiri | Suprapatpoka, Nara | Tangsongsuwan, Siriluck | แสวง เกิดประทุม | นิลพรรณ ชานนท์เมือง | ศิริลักษณ์ ตั้งทรงสุวรรณ์ | เจนจิต พรรณวดี | บุญศิริ ศรีสารคาม | นรา สุประพัฒน์โภคา | ยงยุทธ อิ่มรัตน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 45-01, Sub. Proj. no. 1 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2003. รายละเอียดตัวเล่ม: 40 p. : ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาระบบการจัดการน้ำเสียจากกระบวนการชุบโครเมียมเพื่อการนำน้ำและสารประกอบโครเมียมกลับมาใช้ใหม่หัวเรื่อง: Chromium | Factory and trade waste | Recycling (Waste, etc.) | Water reuse | Water treatment | โครเมี่ยม | การนำกลับมาใช้ใหม่ | การบำบัดน้ำเสีย | น้ำ | น้ำเสียสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: A future work will concern the use of the low concentration chromic acid combined with lead compound waste from a battery factory for producing lead chromate pigment. -Authors.สาระสังเขป: Experimental results at the Muangmai Chromium Electroplating Factory showed that the treated water contained 2.5 mg/l hexavalent chromium average and 10 mg/l TDS average. Besides, results at Siam Techno Industry Electroplating Factory showed that the treated water contained 0.1 mg/l total chromium average and 28 mg/l TDS average. The treated water from each factory contained TDS less than 30 mg/l. Consequently, it can be reused for washing of products better than tap water. In addition, the adsorbed chromate on resin can be recovered as chromic acid for reuse.Review: ในกรณีที่กรดโครมิกที่มีความเข้มข้นต่ำสามารถนำไปผลิตเป็นเม็ดสี lead chromate (PbCrO4) ร่วมกับของเหลือทิ้งจากโรงงานแบตเตอรี โดยคณะผู้วิจัยจะดำเนินโครงการฯ ต่อเนื่องในชุดโครงการนี้ต่อไป.-ผู้แต่ง.Review: จากผลการทดลองใช้ระบบแลกเปลี่ยนอิออนบำบัดน้ำล้างชิ้นงานหลังการชุบโครเมียมในสถานการณ์จริง ณโรงงานเมืองใหม่โครเมี่ยมปรากฏผลคุณภาพน้ำที่ออกจากระบบแลกเปลี่ยน อิออน มีปริมาณโครเมียมเฮกซะวาเลนท์ (Cr6+) เฉลี่ย 2.5 มิลลิกรัม/ลิตร และค่าสารละลายทั้งหมด (TDS) เฉลี่ย 10 มิลลิกรัม/ลิตร. ส่วนที่โรงงานสยามเทคโนอุตสาหกรรม ปรากฏผลคุณภาพน้ำที่ออกจากระบบแลกเปลี่ยนอิออนมีปริมาณโครเมียมทั้งหมดเฉลี่ย 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร และค่าสารละลายทั้งหมด (TDS) เฉลี่ย 28 มิลลิกรัม/ลิตร, ซึ่งปริมาณสารละลายรวมไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร และเป็นน้ำที่มีคุณภาพดีที่จะนำกลับมาใช้เติมในถังน้ำล้างสุดท้าย ใช้ล้างชิ้นงานได้ดีกว่าระบบเดิมที่ใช้น้ำประปา. นอกจากนี้ กรดโครมิกที่ดูดซับไว้บนเรซินยังสามารถล้างออกมาเป็นกรดโครมิกใช้ผสมน้ำชุบในบ่อชุบโครเมียมได้โดยตรง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายสารเคมีในรูปกรดโครมิกลงได้ส่วนหนึ่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2021-08-24 1 RP2003/1242
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2003/1242-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2003/1242-3
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 4 RP2003/1242-4

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300