การปรับปรุงคุณสมบัติวัสดุคอมโพสิทซีเมนต์โดยใช้เส้นใยในการเสริมแรง = ยroperties improvement for cement composite materials by fiber reinforcement / Romanie Wungdheethum...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Janbunjong, Pichit | Kongchatree, Phasuk | Samrejprasong, Suddhisakdi | Siridumrong, Pornpen | Thongnoi, Suwatchai | Wungdheethum, Romanie | พิชิต เจนบรรจง | ผาสุก คงชาตรี | ทองน้อย, สุวัฒน์ชัย | ศิริดำรงค์, พรเพ็ญ | สุทธิศักดิ์ สำเร็จประสงค์ | รมณีย์ หวังดีธรรม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 40-06 ; Rep. no.5 (PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000 รายละเอียดตัวเล่ม: 67 p.หัวเรื่อง: Cement composite materials | Coir fibers | Fibrous composites | Rice husk | Synthetic fibersสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Study on properties improvement for cement composite materials indicated the suitable mixture and mixing ratio of the synthetic and coir fibers reinforced composite materials for window frame. In addition, the potentiality on using rice husk ash as a substitute to some part of cement and the evaluation of cement composite materials properties comparing to those of control mortar were also studied.สาระสังเขป: Substitution of rice husk ash for 30 percent by weight of cement decreased the compressive and flexural strength of the control mortar. The physical properties could be improved by adding fiber to cement matrix.สาระสังเขป: The optimum mixture and mixing ratio of the cement composite materials for window frame were substitution of 30 percent by weight of cement with rice husk ash. The ratio of rice husk ash + cement : sand : crushed rock : water was 1 : 2 : 2: 0.73. Addition of coir fiber and water-reducing agent were 2 percent by weight of cement. The compressive and flexural strength of the cement composite materials obtained were 152.3 and 90 kg/cm , respectively.สาระสังเขป: Through addition of various types of fibers to cement matrix, the compressive and flexural strength of coir fiber-reinforced cement were a little lower than that using synthetic fiber. However, the production cost of the mentioned product was also lower. Authors.Review: การแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยขี้เถ้าแกลบในปริมาณร้อยละ 30 ของน้ำหนักปูน ทำให้ค่ากำลังต้านทานแรงอัดและแรงดันของมอร์ต้าควบคุมลดลง, คุณสมบัติดังกล่าวสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้โดยการเติมเส้นใยเข้าไปในส่วนผสม.Review: การปรับปรุงคุณสมบัติของวัสดุคอมโพสิทซีเมนต์ สามารถทำได้โดยการศึกษาส่วนผสมและอัตราส่วนของส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตวัสดุคอมโพสิทสำหรับวงกบ โดยการเสริมแรงด้วยใยสังเคราะห์หรือใยมะพร้าว. นอกจากนั้นยังทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ขี้เถ้าแกบลเข้าแทนที่บางส่วนของปูนซีเมนต์ รวมถึงการประเมินคุณภาพวัสดุคอมโพสิทซีเมนต์ที่ได้เปรียบเทียบกับมอร์ต้าควบคุม.Review: ค่ากำลังต้านแรงอัดและแรงดัดของวัสดุคอมโพสิทใยมะพร้าวเสริมแรงซีเมนต์ ต่ำกว่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับวัสดุคอมโพสิทที่เสริมแรงด้วยใยสังเคราะห์. อย่างไรก็ตามเมื่อเทียบต้นทุนในการผลิตแล้ว ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวย่อมมีต้นทุนต่ำกว่า การเลือกใช้ส่วนผสมวัสดุชนิดใด จึงขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งานนั้น ๆ. - ผู้แต่ง.Review: ส่วนผสมและอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตวัสดุคอมโพสิทซีเมนต์ สำหรับการผลิตวงกบ คือ การใช้ขี้เถ้าแกลบแทนที่ปูนซีเมนต์ ร้อยละ 30 ของน้ำหนักปูน, อัตราส่วนของขี้เถ้าแกลบผสมปูนซีเมนต์ : ทราย : หิน : น้ำ เท่ากับ 1:2:2:0.73, ใยมะพร้าวและสารลดน้ำร้อยละ 2 ของน้ำหนักปูนซีเมนต์ สามารถผลิตวัสดุคอมโพสิทซีเมนต์ที่มีค่ากำลังต้านทานแรงอัดและกำลังต้านทานแรงดัน 152.3 และ 90 กิโลกรัม ต่อ ตารางเซนติเมตร ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2000/1112
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2000/1112-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300