การผลิตถ่านกัมมันต์จากพืทโดยการเผาและการกระตุ้นด้วยไอน้ำในเตาฟูลอิไดซ์เบด = production of activated carbon from peats by carbonization and steam activation in fluidized bed / Boonchai Thakunmahachai...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Earthayapan, Manus | Kongchatree, Phasuk | Kurdphon, Nomjit | Nutalaya, Kesara | Thakunmahachai, Boonchai | เกิดผล, น้อมจิตต์ | ผาสุก คงชาตรี | บุญชัย ตระกูลมหชัย | เกศรา นุตาลัย | มนัส อาฒยะพันธ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 34-01; Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1991 รายละเอียดตัวเล่ม: 38 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตถ่านกัมมันต์จากพืทโดยการเผาและการกระตุ้นด้วยไอน้ำในเตาผลูอิไดซ์เบดหัวเรื่อง: Activated carbon | Carbonization | Fluidized bed processors | Peat | Steam activationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Peats from Thailand and Japan were used to produce activated carbon by carbonization and superheated steam activation in fluidized bed. Thai peat was found to contain lower ash content and hence was more suitable to be used as raw material for activated carbon production. Peat carbonization was carried out at 460-500 degree celsius by using both fixed bed and fluidized bed methods. Steam activation was done at 850 and 900 degree celsius for 10-40 minutes by using batchwise fluidized bed method. The results show that activated carbon from Thai peat prepared at 900 degree celsius for 40 minutes yields the best adsorption properties (surface area 624 m /g, methylene blue adsorption 190 mg/g, iodine adsorption 1032 mg/g and ash content 27 percent). Consequently, process improvement of carbonization by fluidized bed to increase its yield and activation to obtain higher quality activated carbon should be further carried on. Authorsสาระสังเขป: ได้ทดลองผลิตถ่านกัมมันต์จากพีทไทยและพีทญี่ปุ่น โดยการเผาและกระตุ้นด้วยไอน้ำยิ่งยวดในเตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด. พีทไทยที่ทดลองมีเถ้าน้อยและเหมาะสมที่จะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ถ่านกัมมันต์ดีกว่าพีทญี่ปุ่น. การเผาพีทที่อุณหภูมิ 460-500oซ. ใช้เตาเผาทั้งระบบ fixed bed และฟลูอิไดซ์เบด, ส่วนการกระตุ้นถ่านพีทด้วยไอน้ำนั้น ทำที่อุณหภูมิ 850 และ 900oซ. ในเวลาตั้งแต่ 10-40 นาที โดยใช้เตาเผาระบบฟลูอิไดซ์เบด. จากการทดลองพบว่า ผลิตภัณฑ์ถ่านกัมมันต์จากพีทไทยมีคุณสมบัติการดูดซับดีที่สุด (ค่าพื้นที่ผิว 624 ม.2/ก., ค่า methylene blue adsorption 190 มก./ก., ค่า iodine adsorption 1,032 มก./ก. และค่าเถ้าร้อยละ 27) เมื่อกระตุ้นที่อุณหภูมิ 900oซ. เป็นเวลา40 นาที อย่างไรก็ดี ควรทดลองปรับปรุงการเผาพีทโดยใช้ระบบฟลูอิไดซ์เบด เพื่อเพิ่ม yield และควรทดลองปรับปรุงวิธีการกระตุ้นให้ได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งมีคุณภาพดีขึ้น. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1991/873
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1991/873-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300