การปรับปรุงกรรมวิธีผลิตกระดาษสา = process improvement of sa-handmade papermaking / Naiyana Niyomwan...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaijantuek, Pairoj | Chongvatana, Supen | Hanjangsit, Likit | Leelakajohnjit, Boonchu | Niyomwan, Naiyana | Yagaskanong, Somchai | สุเพ็ญ จงวัฒนา | ไพโรจน์ ชัยจันทึก | นัยนา นิยมวัน | สมชาย ยะกาศคะนอง | บุญชู ลีลาขจรจิต | ลิขิต หาญจางสิทธิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 32-01 ; Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1994 รายละเอียดตัวเล่ม: 81 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การปรับปรุงกรรมวิธีผลิตกระดาษสาหัวเรื่อง: Broussonetia papyrifera | Paper mulberry | Papermaking | Po-sa | Pulping processสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Process improvement for the production of Sa-handmade paper indicated no significant difference in pulp qualities from the same method either using fresh or dry papermulberry fibre. Cooking process used NaOH 7-10 percent by weight on dried raw material. Cooking temperature was 100 degree celsius at cooking time of 3-5 hours. Bleaching of 5 percent by weight of available chlorine on dry weight pulp was done at ambient temperature for 3 hours. Equipments were designed and constructed which included pulp heater to replace the use of hand-beating of cooking pulp, screeners both of Thai and Japanese techniques of papermaking as well as sheet drying machine for sun-drying substitution. Production cost of Sa-handmade paper at the capacity of 10 and 40 kg per day was analysed and the results were also given. Authorsสาระสังเขป: การทดลองต้มเปลือกสาสดและเปลือกสาแห้ง ที่ได้จากการลอกโดยวิธีเดียวกันจะให้คุณภาพเยื่อไม่แตกต่างกัน. กรรมวิธีต้มเยื่อใช้โซดาไฟ น้ำหนักร้อยละ 7-10 ของน้ำหนักเปลือกสาแห้ง. อุณหภูมิที่ใช้ในการต้มเยื่อ คือ 100oซ. ใช้เวลา 3-5 ชั่วโมง. การฟอกขาวใช้คลอรีน จำนวนร้อยละ 5 ของน้ำหนักเยื่อแห้งก่อนฟอก นาน 3 ชั่วโมง. การทำกระดาษสาได้ออกแบบและสร้างเครื่องตีเยื่อแทนแรงงานในการใช้ค้อนทุบเพื่อกระจายเยื่อ, ออกแบบและสร้างตะแกรงตักเยื่อให้เหมาะสมกับการทำกระดาษสา ทั้งแบบชนิดบางและหนาตามวิธีดั้งเดิมของไทยและตะแกรงแบบญี่ปุ่น, รวมทั้งออกแบบและสร้างเครื่องอบกระดาษสาแทนการตาก โดยอาศัยแดดด้วย. นอกจากนี้ยังได้แสดงต้นทุนการผลิตกระดาษสาในขนาดกำลังผลิตวันละ 10 และ 40 กก. เปลือกสาแห้งไว้ด้วย. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1994/946
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1994/946-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300