การผลิตเอ็นซายม์แอมิเลสโดยใช้อาหารเหลว = amylase production by submerged culture method / Jiraporn Sukhumavasi, Puangpen Suyanandana

โดย: Sukhumavasi, Jiraporn
ผู้แต่งร่วม: Suyanandana, Puangpen | จิราภรณ์ สุขุมาวาสี | พวงเพ็ญ สูยะนันทน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Industrial Research Division = Biotechnology Department> Fermentation Technology Lab
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 19-13ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1982 รายละเอียดตัวเล่ม: 18 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตเอ็นซายม์แอมิเลสโดยใช้อาหารเหลวหัวเรื่อง: Amylase | Aspergillus usamii | Biotechnology | Cassava starch | Soybean | Soybean milkสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Thailand has so far not produced amylase for commercial purposes. The enzyme processes employed in food and drinks industries depended on importation. The purpose of this study is to approach the objective of producing small-scale enzyme for local demand. Therefore, and attempt was made by seeking the potent strains of mold which have the ability of producing amylase from low-cost agricultural surplus of waste materials and which would give highest yield and yet retain the production capability under a wide range of environmental conditions. The screening of potent strain and the production of amylase were manipulated on the basis of "submerged culture method." The modification of the media by the variation of carbon and nitrogen sources as well as the optimum condition for amylase production were investigated. The results show that out of the 137 strains of mold, the Aspergillus usamii TISTR 3140 was the most potent strain which could grow in wide pH range of media. The concentration of carbon soruce, cassava starch, which gave the best yield (on cost basis) was one per cent; and among various local nitrogen soruces used the soybean milk was the best. Authors.สาระสังเขป: จนกระทั่งปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีการผลิตเอ็นซายม์ในทางการค้า ถึงแม้ว่า มีการใช้เอ็นซายม์ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มกันมากขึ้นก็ตาม. เอ็นซายม์ทั้งหมดที่ใช้นั้นต้องสั่งจากต่างประเทศ. จุดประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเป็นแนวทางที่จะบรรลุเป้าหมายในการผลิตเอ็นซายม์แอมิเลสขึ้นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ให้เพียงพอกับความต้องการใช้ภายในประเทศ. จึงทำการคัดเลือกสายพันธุ์ราที่ดีที่สุด โดยมีคุณสมบัติสามประการ คือ หนึ่ง สามารถใช้วัถุดิบราคาถูก เหลือใช้ หรือเหลือทิ้ง ภายในประเทศได้, สอง มีสมรรถภาพในการผลิตเอ็นซายม์ได้สูงสุด และ สาม เชื้อราสายพันธุ์นั้นสามารถทนทานต่อสิ่งแวดล้อมของเมืองไทย.สาระสังเขป: วิธีการคัดเลือกสายพันธุ์รา ใช้วิธีผลิตเอ็นซายม์โดยเลี้ยงในอาหารเหลว และทดลองปรับปรุงสูตรอาหารเหลวโดยเปลี่ยนแปลงแหล่งอาหารคาร์บอน, แหล่งอาหารไนโตรเจนจากสูตรเดิม พร้อมทั้งหาสภาพที่เหมาะที่สุดในการผลิตเอ็นซายม์. ผลปรากฏว่า จากราจำนวน 137 สายพันธุ์ Aspergillus usamii TISTR 3140 เป็นสายพันธุ์ที่ดีที่สุด, สามารถเจริญเติบโตในอาหารที่มีระยะของความเป็นกรดด่างได้กว้าง. ใช้แหล่งอาหารคาร์บอน คือ แป้งมันสำปะหลัง ซึ่งมีความเข้มข้น หนึ่งส่วนในอาหารร้อยส่วน ได้ผลคุ้มค่าที่สุด. และในบรรดาแห่งอาหารไนโตรเจนทั้งหมดที่ใช้ทดลอง พบว่า น้ำเต้าหู้ให้ผลดีที่สุด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1983/637
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1983/637-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1983/637-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300